การสอนแบบ Backward Design

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา
Advertisements

มุ่งพัฒนาสู่การเป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลงในสถานศึกษา
การสร้างห้องเรียนคุณภาพ
PCTG Model อริยมงคล 55.
โครงงานคืออะไร ??? ติดตามมาเลยนะครับ…..
หน้าที่ของผู้บริหาร.
ความคิดสร้างสรรค์ (Creavity) และ ความรู้ (Knowledge)
กระบวนการวิจัย(Research Process)
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
จุดมุ่งหมายหลักสูตร และการนำหลักสูตรไปใช้
บทที่ 1 เทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการศึกษา
การบูรณาการไอซีทีสู่ห้องเรียน
ห้องเรียนแห่งการเปลี่ยนแปลง
สาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี
หลักการพัฒนา หลักสูตร
บทที่ 1 การวิจัยกับการ พัฒนางานของครู
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
สัปดาห์ที่ 6 เรื่อง วิธีการดำเนินงานสุขศึกษา ในสถานที่ต่างๆ
Research & Development รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์ มสธ.
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องนโยบายการปฏิรูป การเรียนการสอนภาษาอังกฤษ
ดร.นิวัตต์ น้อยมณี การประเมินห้องเรียนคุณภาพ โดย
บทที่ 8 การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ
“Backward” Unit Design?
การเสริมประสิทธิภาพการวัด และประเมินผลในชั้นเรียน
การวัดและประเมินผลตามสภาพจริง
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
หน่วย การเรียนรู้.
การสอนแบบบรรยาย-อภิปราย
รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์....มสธ
กลุ่มที่ ๓ เรื่อง โรคไม่ติดต่อ
1 การอ่านตำรา การอ่านตำรา.
การพัฒนาระบบการเรียนการสอน
การออกแบบตัวชี้วัดที่ประสบความสำเร็จในการทำ E-Learning โดย เบคิม เฟทาจิ , เมย์ลินดา เฟทาจิ มหาวิทยาลัยยุโรปตะวันออกเฉียงใต้ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีร่วมสมัย.
นโยบายการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนขนาดเล็ก
เทคนิคการจัดการเรียนรู้สำหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
การเขียนเกณฑ์การประเมิน (Rubric)
สวัสดีปีใหม่ ในวันขึ้นปีใหม่ 1. ลืมและยกเลิกสิ่งที่ไม่ดี ที่ทำมาในปีก่อน 2. สิ่งใด ๆ ดีในปีที่แล้วก็ให้ ปฏิบัติต่อไป 3. สิ่งดี ๆ ใหม่ ๆ ที่ดีให้คิด.
การจัดการเรียนรู้โดยยึดผู้เรียนเป็นสำคัญ
การยกระดับคุณภาพ การเรียนการสอนภาษาอังกฤษ
สรุป แนวคิด “ การเรียนรู้ ” (Learning) (Additional A1) Key word ที่สำคัญที่สุดของ เรื่อง “ คุณภาพ การศึกษา ” สรุปโดย นายไพโรจน์ พิทักษ์ทวยหาญ ศึกษานิเทศก์
กลวิธีการสอนคณิตศาสตร์ระดับประถมศึกษา
การจัดการเรียนรู้ที่เน้นคุณภาพในห้องเรียน
การพัฒนากระบวนการอ่านในรายวิชาภาษาไทย ของนักศึกษาสาขา ช่างยนต์
การประเมินนวัตกรรม Dr.Kulthida Nugultham.
แนวทางนำเสนอ การ พัฒนาหลักสูตร บูรณการอาเซียน นำเสนอโดย นายไพโรจน์ พิทักษ์ทวยหาญ ศึกษานิเทศก์ ชำนาญการพิเศษ สพป. เชียงใหม่ เขต ๑ ( ๓๑ มี. ค. ๕๗ )
สายวิชาเคมี ชั้นปีที่ 3
ประมวลผลการเรียนรู้ การพัฒนาหลักสูตร E Learning "นพลักษณ์ฯ ขั้นต้น” 5 มิถุนายน -18 กันยายน 2551 สวทช. นำประสบการณ์จากกิจกรรมเชื่อโยงกับ Core Competency.
ผู้อำนวยกลุ่มการเรียนรู้ (Learning Facilitator)
การเรียนรู้ที่ต้องการพัฒนา
ภาคเรียนที่1 ปีการศึกษา 2556 นางสาวกรรณิการ์ นัยผ่องศรี
แนวทางการสอนเพื่อพัฒนาทักษะเด็กตามรูปแบบ การสอนแบบโครงงาน/โครงการ
ผู้วิจัย นางสาวพิลาวรรณ พิริยะโภคัย
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
โรงเรียนสายธรรม กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
นายทศพิธ แป้นดวงเนตร วิทยาลัยเทคโนโลยีศรีธนาพณิชยการ เชียงใหม่
ระบบการ ดำเนินการใน โรงเรียน 1. ระบบบริหารจัดการ 2. ระบบการเรียนการสอน 3. ระบบการวัดผลประเมินผล 4. ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน 5. ระบบงานกิจกรรมนักเรียน.
หลักการเขียนโครงการ.
การประกวดแข่งขันผลงานวิจัย และนวัตกรรมสื่อสารสอนทางอาชีวศึกษา
การสอนโดยการแบ่งกลุ่มทำกิจกรรม
ลักษณะโครงการวิจัยที่ดี
การใช้ผลการสอบขับเคลื่อนการ จัดการเรียนการสอน 1. วิเคราะห์ผลการทดสอบ ระดับชาติ (NT, O-NET) H 1 คะแนนเฉลี่ยสูงกว่าระดับประเทศ S.D. น้อยกว่าระดับประเทศ H.
Backward Design โดย อาจารย์ประจำวิชาฟิสิกส์ชั้นปีที่ ๓
ชื่อผู้วิจัย จิติวัฒน์ สืบเสนาะ วิทยาลัยเทคโนโลยีระยองบริหารธุรกิจ
ให้โอกาสผู้เรียนมีส่วนร่วมรับผิดชอบ สร้างความมีวินัย การตรงต่อเวลา
วิธีสอนแบบอุปนัย.
กระบวนการ การออกแบบการเรียนการสอน แนวคิดสำคัญ เริ่มจากการคิดทุกอย่างให้จบสิ้น จึงเริ่มต้นจากปลายทางที่ ผลผลิตที่ต้องการ เป็นหลักฐาน พยานแห่งการเรียนรู้
แนวทางพัฒนางานประจำ สู่งานวิจัย
เทคนิควิธีในการจัดการเรียนการสอน
เรียนรู้ร่วมกันเป็นทีม
โครงการจัดตั้ง กองแผนงาน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การสอนแบบ Backward Design เป็นการจัดการเรียนการสอนที่วางแผนการคิดย้อนทาง ต้องกำหนดเป้าหมายหลักให้ชัดเจน ออกแบบกิจกรรมที่นำไป สู่ผลได้จริง และนักเรียนต้องได้รับความรู้ฝังแน่น ดำเนินการถอยหลังไปทีละ Step ตามลำดับบันไดสร้างความรู้ (Learning Hirachy)

ความรู้แบบฝังแน่น คืออะไร ความรู้แบบฝังแน่น คือ ความรู้ที่นำไปใช้ได้ ได้แก่ 1. ความคิดรวบยอด ( Definition ) 2. ความสัมพันธ์ (ความเชื่อมโยงของความคิดรวบยอด 2 อย่าง ขึ้นไป 3. กฎ หลักการ 4. กระบวนการ

ทำไมต้องทำ Backward Design ในประเทศไทย ทุกวันนี้ครูผู้สอนยังสอนแบบท่องจำ ให้ความรู้แบบฉาบฉวย ทำให้นักเรียนไม่มีความรู้จริง ไม่สามารถนำความรู้ไปใช้ได้ U.S.A. ได้เปรียบเทียบผลการสอบระดับชาติกับนักเรียนนานาชาติ ปรากฎว่า U.S.A. ไม่ติด 1 ใน 3 เลย จึงเริ่มทำวิจัย โดยสำรวจห้องเรียน 2,300 ห้องเรียน พบว่า

ตัวชี้คุณภาพเชิงบวก ในการเรียนการสอนมีการตั้งเป้าหมายความคิดระดับสูง 3 % ในการเรียนการสอนมีการตั้งจุดมุ่งหมายชัดเจน 4 % เขียนหรือใช้ Rubrics ในการประเมิน 0% ตัวชี้คุณภาพเชิงลบ ขณะสอนมีกิจกรรมอื่นแทรก(ไม่ค่อยสอน/เรียน ) 35 % นั่งทำใบงาน 52 % นักเรียนน้อยกว่าครึ่งสนใจเรียน 85 % จากนั้นก็ไปดู Portfolio นักเรียน พบว่าผลงานนักเรียน เป็นผลงานที่แสดงออกแบบพื้นๆมาก ไม่มีความคิดลึกซึ้ง

การทำแผนแบบ Backward Design เริ่มต้นจาก 1. ครูกำหนดผลการเรียนรู้แบบลึกซึ้ง ฝังแน่น 2. จัดบรรยากาศเชิงบวกในห้องเรียน 3. ใช้คำถาม ยั่วยุ ท้าทายให้สมองทำงาน 4. จัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้นักเรียนรู้จักการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ต้องมีการประเมินผลหลังการสอนและมีการพัฒนานักเรียนที่มีผลการเรียนต่ำ 5. ครูนำเสนอตัวอย่างชิ้นงานของนักเรียนตามแผนที่ครูสอน (ชิ้นงานต้องมี 3 Level คือ ชิ้นงานของนักเรียนที่มีผลการเรียนสูง กลาง ต่ำ )

เจตนาของ Backward Design 1. ต้องการทำให้แผนการสอนเป็นเหตุเป็นผล 2. นักเรียนมีความรู้แบบฝังแน่น เมื่อเราจะพยายามเปลี่ยนแปลงครู ก็จะมี แรงต้าน ***การเปลี่ยนแปลงทั้งหลายต้องเริ่มที่ Moral Purpose

Moral Purpose ความรับผิดชอบเชิงจริยธรรม 1. ครูต้องเพิ่มคุณภาพผลการเรียน 2. ลดช่องว่างเด็กเก่ง เด็กอ่อน 3. นักเรียนทุกคนต้องได้รับการเรียนที่ดีที่สุด

ข้อเสนอแนะ /แนวทางในการปฏิบัติ แนวคิดแบบ Backward Design มีประโยชน์ต่อการจัดการเรียนการสอน แต่ครูต้องยอมรับการเปลี่ยนแปลง ศก.อาจไม่จำเป็นต้องใช้รูปแบบนี้ แต่ทำแบบเดิมที่มีอยู่ให้เข้มข้น ฝังแน่นขึ้นก็น่าจะถึงจุดหมายปลายทางเดียวกันได้ คือส่งเสริมนักเรียนให้รู้จักคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ และนำความรู้ไปใช้ได้ ***

where there is an OPEN MIND, There will always be a new frontier.