ชื่อตัวบ่งชี้ 2.3 : เงินสนับสนุนงานวิจัยและงาน สร้างสรรค์จากภายนอกสถาบันต่อ อาจารย์ประจำ ( บาท ) 1. จุดอ่อน 1. อัตรากำลังของคณะฯ มีจำนวนน้อยและมีภาระ งานรับผิดชอบที่หลากหลาย.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
Advertisements

กลุ่มที่ 2 สถาบันที่ยังไม่มี IBC
หลักเกณฑ์การวิเคราะห์ความเสี่ยง ตามหลักธรรมาภิบาล
กุลภัทรา สิโรดม 20 กรกฎาคม 2554
รายงานประจำปี การประเมินคุณภาพ 2551 ปีการศึกษา/ปีงบประมาณ
รายงาน ผลการประเมินคุณภาพ ประจำปี 2553
การปฏิบัติและจัดการงาน ให้มีประสิทธิภาพ
การเสวนาแลกเปลี่ยนประสบการณ์เรื่อง การจัดทำแผนกลยุทธ์ทางการเงิน
การพัฒนาคุณภาพงานวิจัยของภาควิชา ตามเกณฑ์ สกว. จากผลการประเมินภาควิชา
ชื่อตัวบ่งชี้ : 5.5 ศักยภาพของระบบฐานข้อมูล เพื่อการบริหาร การเรียนการสอน และการวิจัย ( ระดับ ) 1. จุดอ่อน 1. จุดอ่อน ของคณะฯ 1.1 ยังไม่มี SERVERS เป็นของคณะฯเอง.
ชื่อตัวบ่งชี้ 3.5 : จำนวนแหล่งให้บริการวิชาการ และวิชาชีพที่ได้รับการยอมรับใน ระดับชาติหรือระดับนานาชาติ 1. จุดอ่อน คณะฯมีพื้นที่ใช้สอยอย่างจำกัดในการเอื้อ.
ชื่อตัวบ่งชี้ 5.1 : สภาสถาบันและผู้บริหารมี วิสัยทัศน์ที่ขับเคลื่อนพันธกิจ และ สามารถสะท้อนถึง นโยบาย วัตถุประสงค์ และนำไปสู่เป้าหมาย ของการบริหารจัดการที่ดี
ชื่อตัวบ่งชี้ : 6.1 ร้อยละของหลักสูตรที่ได้ มาตรฐานต่อหลักสูตรทั้งหมด 1. จุดอ่อน 1. ยังมีเนื้อหาของบางรายวิชาในแต่ละหลักสูตร เกิดความซ้ำซ้อน 2. การจัดลำดับความสำคัญของรายวิชาในแต่ละ.
ที่มาของระบบควบคุมภายใน
โดย คณะกรรมการประเมินคุณภาพภายนอก
ผลกระทบการเปิดประตูสู่อาเซียน
คณาจารย์ระดับอุดมศึกษา รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์ มสธ.
นโยบายการประกันคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยพายัพ
ความหมาย ประโยชน์ ลักษณะของทีม
รูปแบบการนำเสนอ หน่วยงาน
27 ตุลาคม 2551 ณ ศูนย์ประชุมอุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย
การติดตาม และประเมินโครงการ.
สารบัญ คำนำ หน้า บทสรุปผู้บริหาร วิสัยทัศน์&ภารกิจ
เศรษฐกิจสร้างสรรค์บนฐานวัฒนธรรม
การบริหารความเสี่ยง ของสหกรณ์
การบริหารจัดการความเสี่ยงของสหกรณ์
ชื่อตัวบ่งชี้ 3.3 : มีการนำความรู้และประสบการณ์ จากการบริการวิชาการและ วิชาชีพมาใช้ในการพัฒนาการเรียนการ สอนและการวิจัย ( ระดับ ) 1. จุดอ่อน คณะฯ ยังขาดการรวบรวม.
มาตรฐานที่ 3 มาตรฐานด้านการ บริการวิชาการ คณะศิลปกรรมศาสตร์ มีจำนวนกิจกรรม / โครงการ บริการวิชาการและวิชาชีพ ในปีการศึกษา 2548 จำนวน 27 กิจกรรม ทั้งนี้
ชื่อตัวบ่งชี้ 1. 5 : จำนวนนักศึกษาหรือศิษย์ เก่าที่ได้รับการประกาศเกียรติ คุณยกย่องในด้านวิชาการ วิชาชีพ คุณธรรม จริยธรรม หรือรางวัลทางวิชาการ หรือด้านอื่นที่เกี่ยวข้องกับ.
ชื่อตัวบ่งชี้ : 5.3 มีการกำหนดแผนกลยุทธ์ที่ เชื่อมโยงกับยุทธศาสตร์ชาติ ( ระดับ ) 1. จุดอ่อน 1. เนื่องจากบุคลากรแต่ละคนมีภาระงานที่ต้อง รับผิดชอบหลายด้าน.
ชื่อตัวบ่งชี้ : 5.2 มีการพัฒนาสถาบันสู่องค์การ เรียนรู้โดยอาศัยผลการประเมินจาก ภายในและภายนอก ( ระดับ ) 1. จุดอ่อน เนื่องจากบุคลากรแต่ละคนมีภาระงานที่ต้อง.
ชื่อตัวบ่งชี้ 1.3 : เงินเดือนเริ่มต้นของบัณฑิต ( ปริญญาตรี ) 1. จุดอ่อน 1. คณะฯยังไม่มีการจัดทำฐานข้อมูลเงินเดือนของ บัณฑิต 2. คณะฯยังขาดหลักคิดที่สมบูรณ์ในการเทียบ.
ชื่อตัวบ่งชี้ 2.4 : ร้อยละของอาจารย์ประจำที่ได้รับ ทุนทำวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ จากภายในสถาบันต่ออาจารย์ประจำ ทุกระดับ 1. จุดอ่อน อัตรากำลังของคณะฯ มีจำนวนน้อยและมีภาระงาน.
บทบาทของชุมชนต่อโรงเรียน
พันธ กิจ สร้างและสนับสนุนงานวิจัยทาง อายุรศาสตร์ ที่มีคุณภาพและตอบสนองต่อ ปัญหาของประเทศโดยเฉพาะ ปัญหาทางสาธารณสุขใน ภาคใต้
กระบวนการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมและการวางแผน
เครื่องมือและเทคนิคการทำงานแบบมีส่วนร่วมของชุมชน
ขับเคลื่อนนวัตกรรม ด้วยการเข้าใจตลาดและผู้ใช้
ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงเพื่อสร้างความโปร่งใส ในกระบวนงานกระบวนการพัฒนาและคุ้มครองพิทักษ์สิทธิเยาวชน (การเสริมสร้างความเข้มแข็งสภาเด็กและเยาวชน) ของสำนักงานส่งเสริมสวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก.
ผลสรุปการแบ่งกลุ่มย่อยประชุมวิชาการเชิงปฏิบัติการ
การประกันคุณภาพการศึกษา ภายในมหาวิทยาลัย/คณะ
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและโอกาสพัฒนาในโครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ ในภาพรวมของเขต 10 สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 10 เชียงใหม่
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด2 9คำถาม.
การจัดประชุมเฉพาะกลุ่มที่ เกี่ยวข้องโดยตรง Focus Group 1st ปัญหา อุปสรรค และกลยุทธ์ ส่งเสริมงานวิจัยด้าน ICT ไทย “ โครงการส่งเสริมงานวิจัยและ พัฒนาเพื่อเสริมสร้างความ.
รูปแบบของการรายงานผลการ ประเมินคุณภาพภายใน ปีการศึกษา 2549/ ปีงบประมาณ คณะกรรมการประเมินคุณภาพ ภายใน 2. ข้อมูลของคณะ / หน่วยงาน ( โดยสังเขป ) 3.
ทิศทางการพัฒนาวิทยาเขตขอนแก่น
แผนพัฒนาโรงเรียนสัมมาชีวศิลป ปีการศึกษา 2542 ?
เรื่องหลักการแก้ปัญหา
Assignment : หลักการการวิจัยการจัดการความรู้ ชื่อหัวข้อวิจัย
บทสรุปสำหรับผู้บริหาร Executive Summary
การติดตามการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการ ครั้งที่ 2
อาจารย์ระดับอุดมศึกษา รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์ มสธ.
การจัดการความรู้ ศูนย์นิติวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
นโยบายการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนขนาดเล็ก
ตามแนวพระราชดำริในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
โครงการ/กิจกรรม/กระบวนการ การจัดการแผนกลยุทธ์
การจัดทำแผนปฏิบัติงานประจำปี
ประสบการณ์การบริหาร มหาวิทยาลัย ๑๕ มีนาคม ๒๕๕๐. เรื่องที่เกี่ยวข้องกับการ บริหารมหาวิทยาลัย โครงสร้าง กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ รูปแบบการบริหารและขอบเขต อำนาจ.
การศึกษาวิจัย เรื่อง ผู้วิจัย นายอภิวิชญ์ ปีนัง
Nanotechnology Cluster ภาคใต้ 1 โครงการพัฒนา นักวิจัยไทย ด้านวิทยาศาสตร์ เคมี และเภสัช ภาคใต้ ระยะที่ 2 แผน 5 ปี ( )
กลุ่ม A2 “ข้าวเด้ง”.
วิสัยทัศน์การพัฒนาตำบล
แผนธุรกิจ (Business Plan)
ถอดบทเรียน ยุทธศาสตร์การค้าอาเซียน
กลุ่มที่ 2 กลุ่มพัฒนาภาคีเครือข่าย สคร.1-12
บทที่ 7 การพยากรณ์ยอดขาย.
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารช่วยประหยัดค่าใช้จ่าย
การเลือกสถานที่ตั้งโรงงาน
วิพากษ์วิจารณ์ข้อดีของทฤษฎี
โครงการจัดตั้ง กองแผนงาน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ชื่อตัวบ่งชี้ 2.3 : เงินสนับสนุนงานวิจัยและงาน สร้างสรรค์จากภายนอกสถาบันต่อ อาจารย์ประจำ ( บาท ) 1. จุดอ่อน 1. อัตรากำลังของคณะฯ มีจำนวนน้อยและมีภาระ งานรับผิดชอบที่หลากหลาย ทำให้มีข้อจำกัดและมี ผลกระทบต่อระยะเวลาในการทำงานสร้างสรรค์และวิจัย ให้แล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด จึงเป็นข้อจำกัด ในการหาแหล่งทุนจากภายนอก 2. หน่วยงานภายนอกยังขาดความมั่นใจในการ จัดสรรทุนสำหรับการทำงานสร้างสรรค์ในศาสตร์ ศิลปกรรม 2. จุดแข็ง บุคลากรคณะฯ เห็นความสำคัญต่อการทำงาน สร้างสรรค์ ถึงแม้จะต้องใช้เงินทุนส่วนตัวก็ตาม

3. โอกาส จากความหลากหลายทางความเชื่อ ศาสนา ขนบประเพณี ศิลปวัฒนธรรมและสิ่งแวดล้อม มีส่วน ทำให้บุคลากรมีแรงบันดาลใจในการสร้างสรรค์ผลงาน ศิลปะและคาดว่าคณะฯ สามารถนำเสนอผลงานการ สร้างสรรค์ของบุคลากรให้เป็นที่ยอมรับเพื่อนำไปสู่การ ขอทุนวิจัย / สร้างสรรค์ จากแหล่งทุนสร้างสรรค์ / วิจัยจาก ภายนอกได้

4. อุปสรรค 1. ข้อจำกัดเรื่องภาระงาน ระยะเวลาในการ ปฏิบัติงานและจำนวนอาจารย์ ทำให้ ขาดการสรรหา แหล่งทุนสร้างสรรค์ / วิจัยจากภายนอก 2. แหล่งทุนภายนอกสถาบันที่สนับสนุนการ ทำงานสร้างสรรค์โดยส่วนใหญ่ตั้งอยู่บนพื้นที่แหล่ง ธุรกิจการค้าหรือเมืองใหญ่ ๆ เนื่องจากการขอทุน สนับสนุนการทำงานสร้างสรรค์ ผู้ให้ทุนส่วนใหญ่จะ พิจารณาจากผลงานจริงเป็นข้อมูลในการตัดสินใจให้ทุน จึงทำให้ไม่สะดวกในการนำเสนอและขนส่งผลงาน สร้างสรรค์เพื่อเสนอต่อแหล่งทุน 3. เนื่องจากหน่วยงานภายนอกมุ่งให้ความสำคัญ ความมั่นคง ต่อการดำเนินชีวิตในปัจจัยสี่เป็นหลัก ดังนั้น การสนับสนุนให้ทุนวิจัย / สร้างสรรค์ในศาสตร์ศิลปกรรม จึงมีความสำคัญเป็นลำดับรองลงไป

5. กลยุทธ์ / แผนพัฒนา 1. กำหนดแผนการขอสนับสนุนอัตรากำลัง เพิ่มเติมจากมหาวิทยาลัย 2. คณะฯ ผลักดันผลงานสร้างสรรค์สู่การขอทุน วิจัย / สร้างสรรค์จากภายนอก 3. จัดหาสถานที่ ครุภัณฑ์พร้อมทั้งวัสดุ อุปกรณ์ ต่าง ๆ ให้บุคลากรได้ใช้ในการวิจัย / สร้างสรรค์ผลงาน ศิลปะได้อย่างเต็มที่