ตัวชี้วัดตามคำรับรองของ กพร. กรมส่งเสริมสหกรณ์ ปีงบประมาณ พ.ศ.2553 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดกระบี่
2. 1 ร้อยละของสหกรณ์ที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน 2.1 ร้อยละของสหกรณ์ที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน คำนิยาม “สหกรณ์ที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน” หมายถึง สหกรณ์ทุกประเภทที่ ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน 4 ข้อ ดังนี้ 1.ผลการดำเนินการในรอบ 2 ปีบัญชีย้อนหลังไม่มีการกระทำอันถือได้ว่า ทุจริต 2.ผลการดำเนินงานในรอบปีบัญชีสุดท้ายสหกรณ์ต้องมีสมาชิกไม่น้อยกว่า ร้อยละ 60 ของสมาชิกทั้งหมดร่วมทำธุรกิจกับสหกรณ์ 3.ผลการดำเนินการในรอบ 2 ปีบัญชีย้อนหลังสหกรณ์ต้องมีการจัดสรรกำไร สุทธิและจ่ายเงินทุนสวัสดิการสมาชิก หรือทุน 4.สหกรณ์จะต้องผ่านเกณฑ์การจัดชั้นคุณภาพของกรมตรวจบัญชีในระดับ คะแนนมากกว่า 60 คะแนนขึ้นไป
ร้อยละของสหกรณ์ที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน เป้าหมาย ของจังหวัดปี งบประมาณ พ.ศ.2552 ร้อยละ 61.80 ของสหกรณ์ที่นำมาจัดมาตรฐานนำมาจัดมาตรฐาน จำนวน 55 สหกรณ์ 49.09% ผลผ่านมาตรฐาน 27 สหกรณ์ คิดเป็น ร้อยละ 49.09 (ผ่านเกณฑ์ตามที่กำหนด)
2.2 ร้อยละของสหกรณ์ที่ยกระดับชั้นการคุณภาพ การควบคุมภายในจากพอใช้เป็นระดับดีถึงดีมาก คำนิยาม “ ร้อยละของสหกรณ์ที่ยกระดับชั้น คุณภาพการควบคุมภายในจากระดับพอใช้เป็น ระดับดีถึงดีมาก” หมายถึง 1. ร้อยละของสหกรณ์ที่ผ่านการประเมินผ่าน เกณฑ์การจัดชั้นคุณภาพการควบคุมภายในของ กรมตรวจบัญชีสหกรณ์ในระดับพอใช้ใน ปีงบประมาณ 2551 ได้รับการปรับปรุงหรือ พัฒนาจนสู่ระดับดีถึงดีมากในปีงบประมาณ 2552 2. สหกรณ์ หมายถึง สหกรณ์ทุกประเภท 3. สหกรณ์ที่ผ่านเกณฑ์การจัดชั้นคุณภาพการ ควบคุมภายในระดับพอใช้ปี 2551 โดยกำหนดเป้าหมายในปี 2552 ร้อยละ 36.74 61.53
2.4 ระดับความสำเร็จของการกำกับดูแลองค์กรที่ดี ตามหลักธรรมาภิบาลของสหกรณ์ คำนิยาม 1.สหกรณ์ หมายถึง สหกรณ์ทุกประเภทที่มี ระบบควบคุมภายในระดับดีและดีมาก จากการ ประเมินชั้นคุณภาพควบคุมภายในปี 2551 2. “การกำกับดูแลองค์กรที่ดีตามหลักธรรมาภิ บาลของสหกรณ์” หมายถึง สหกรณ์นำ หลักธรรมภิบาลไปใช้ในการกำกับดูแลสหกรณ์ โดยมีองค์ประกอบ 6 ประการ คือ 1) หลักนิติธรรม 2) หลักคุณธรรม 3) หลักความโปร่งใส 4) หลักการมีส่วนร่วม 5) หลักความรับผิดชอบ 6) หลักความคุ้มค่า เป้าหมายของจังหวัดปีงบประมาณ พ.ศ.2553 ร้อยละ 50 ของสหกรณ์ 53 แห่ง ผล (ยังสรุปไม่ได้เนื่องจากต้องรอสรุปไตรมาสที่ 2 ของปีงบประมาณ 2554)
3. เกณฑ์การให้คะแนน สำหรับปีงบประมาณ พ.ศ.2552 ดังนี้ ระดับที่ 1 แต่งตั้งคณะทำงานระหว่างกรมตรวจบัญชีและกรมส่งเสริม สหกรณ์และผู้แทนจากขบวนการสหกรณ์ ระดับที่ 2 คณะทำงานร่วมฯ จัดทำเกณฑ์ชี้วัดการกำกับดูแลองค์กรที่ดี ระดับที่ 3 ทดสอบเกณฑ์ตัวชี้วัดการกำกับดูแลองค์กรที่ดี ระดับที่ 4 ประชุมชี้แจงสหกรณ์จังหวัด หัวหน้าส่งเสริมและพัฒนาการ บริหารจัดการสหกรณ์ นักวิชาการกลุ่มส่งเสริมและพัฒนาฯ ผู้แทนหัวหน้า หน่วยส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ์ ระดับที่ 5 สหกรณ์จังหวัดทำ MOU กับสหกรณ์ที่มีระบบควบคุม ภายในระดับดีและดีมากไม่น้อยกว่าร้อยละ 50
4) ผลการดำเนินงานในรอบปีบัญชีสุดท้าย สหกรณ์ต้องมีสมาชิกไม่น้อยกว่า ร้อยละ 60 ของสมาชิกทั้งหมดที่ทำธุรกิจกับสหกรณ์ 5) ต้องจัดเจ้าหน้าที่สหกรณ์ปฏิบัติงานประจำรับผิดชอบดำเนินการและธุรกิจ สหกรณ์ หากไม่มีการจัดจ้างต้องมีกรรมการดำเนินการหรือสมาชิกทีได้รับ มอบหมายให้ปฏิบัติหน้าที่ประจำ 6) ผลการดำเนินงานในรอบสองปีบัญชีย้อนหลัง สหกรณ์ต้องมีการจัดสรร ประโยชน์อย่างน้อยหนึ่งครั้ง 7) ผลการดำเนินงานในรอบปีบัญชีสุดท้าย สหกรณ์ต้องไม่กระทำการอันเป็นการ ฝ่าฝืนกฎหมาย ระเบียบ หรือคำสั่งของนายทะเบียนสหกรณ์
ร้อยละที่เพิ่มขึ้นของปริมาณธุรกิจสหกรณ์ คำนิยาม ปริมาณธุรกิจ หมายถึง ปริมาณธุรกิจสหกรณ์ ทุกประเภท ประกอบด้วย ธุรกิจการรับฝากเงิน/การให้กู้เงิน/จัดหาสินค้ามาจำหน่าย/การรวบรวมผลผลิตเพื่อขายหรือการแปรรูป/การแปรรูป/การให้บริการอื่นๆ ตามวัตถุประสงค์ของสหกรณ์ ร้อยละที่เพิ่มขึ้น หมายถึง ร้อยละของการเพิ่มขึ้นของปริมาณธุรกิจรวมของสหกรณ์ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2553 เปรียบเทียบกับปีงบประมาณ พ.ศ.2552 ปริมาณธุรกิจประจำปีงบประมาณ หมายถึง ปริมาณธุรกิจระหว่างเดือนกันยายน ปีก่อน ถึงเดือนสิงหาคม ปีปัจจุบัน เพิ่มขึ้น 9.84 เป้าหมาย ของจังหวัดปีงบประมาณ พ.ศ.2553 ร้อยละ 4 ของปริมาณธุรกิจ(ปริมาณปีฐาน 52 เท่ากับ 11.89 พันล้านบาท) ผล 13.06 พันล้านบาท เพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ 9.84 ของปี 2553 (ผ่านเกณฑ์ที่กำหนด)