โครงการที่ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนปรับโครงสร้างการผลิตภาคเกษตรเพื่อเพิ่มขีดความสามารถการแข่งขันของประเทศ.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
 โครงการส่งเสริมและพัฒนาอาชีพ ประชาชนในจังหวัดเชียงใหม่
Advertisements

การพัฒนาเครือข่ายสถาบันเกษตรกรผู้ปลูกกาแฟ Coffee Cooperative Networks
เกษตรกรรุ่นใหม่ และ Smart Farmer
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ
กรมปศุสัตว์ เป็นหน่วยหลัก
งานกลุ่มส่งเสริมและ พัฒนาธุรกิจสหกรณ์ ผลงาน ณ เดือน มกราคม 2552.
ชื่อ กนกภรณ์ นามสกุล บุญทรง รหัสนักศึกษา ชั้นปีที่ 2 ภาควิชา พัฒนาการเกษตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่
ภาวะเศรษฐกิจการเกษตรของไทย
โครงการส่งเสริมอาชีพด้านการเกษตร ในจังหวัดชายแดนภาคใต้
(เดือนสิงหาคม 2553 – เดือนสิงหาคม 2559)
โครงการเร่งรัฐปฏิบัติการด่วน (เพื่อคนไทย) หรือโครงการปฏิบัติการประชาวิวัฒน์ ยุทธศาสตร์การสร้างระบบเศรษฐกิจที่เท่าเทียมและเป็นธรรม.
โครงการเพิ่มศักยภาพการผลิต การตลาดและการแปรรูปในสหกรณ์โคนม (ก่อสร้างโรงงานแปรรูปผลิตภัณฑ์นม) ภายใต้แผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555.
โครงการลดภาระหนี้ให้แก่เกษตรกรรายย่อย ตามนโยบายของรัฐบาลผ่านระบบสถาบันเกษตรกร จังหวัดสมุทรสงคราม.
ระเบียบวาระการประชุมคณะกรรมการกลาง กลุ่มเกษตรกรระดับจังหวัด
บทบาทหน้าที่ผู้ตรวจราชการกรม
แผนงาน/โครงการที่สำคัญของกรมส่งเสริมสหกรณ์
สรุปแผน/ผลการปฏิบัติงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ
7 องค์ประกอบ มีการรับรู้และมุมมองที่เหมือนกัน การมีวิสัยทัศน์ร่วมกัน
งานกลุ่มส่งเสริมและ พัฒนาธุรกิจสหกรณ์ ผลงาน ณ เดือน กุมภาพันธ์ 2552.
วันที่ 10 ตุลาคม 2556 ณ ห้องประชุม ส.ส.ส.
แนวคิดการส่งเสริมปศุสัตว์ไทย
เป็นที่ไว้วางใจของผู้ บริโภค
กระบวนการจัดการความรู้
กลุ่มพัฒนาเทคโนโลยีการปศุสัตว์
ผลสรุปการแบ่งกลุ่มย่อยประชุมวิชาการเชิงปฏิบัติการ
Strategy Plan  ออม  การลงทุน  แก้ความจน ช่วยสังคม  เพิ่มรายได้ ลดรายจ่าย กำไร ความเข้มแข็ง ความ มั่นคง ทางการเงิน อย่างสมดุล / ยั่งยืนต่อเนื่อง ความเข้มแข็ง.
ยุทธศาสตร์การค้าสินค้าเกษตรอินทรีย์ของกระทรวงพาณิชย์
ศักยภาพ ผัก ผลไม้ เศรษฐกิจภาคใต้ ปัญหาและอุปสรรคของการผลิต การจำหน่ายทั้งในและส่งออกต่างประเทศ ในมุมมองของภาครัฐ.
เกษตรอินทรีย์ (Organic)
เครื่องหมายรับรอง “Q ”และ “Q Premium”
ลักษณะของรายงาน 1. คำนำ 2. สารบัญ 3. เนื้อหาที่รายงาน
วัตถุประสงค์ และผลผลิตหลักโครงการ
น.สพ.ไพรัช ธิติศักดิ์ 27 มกราคม 2553
สมาคมผู้เพาะเลี้ยงปลาไทย
ภาควิชาพัฒนาการเกษตร
นาย ณัฐวุฒิ คง นุ่น รหัสนักศึกษา นาย ณัฐวุฒิ คง นุ่น รหัสนักศึกษา ภาควิชาพัฒนาการเกษตร คณะ ทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาวัยสงขลานครินทร์
ยุทธศาสตร์การพัฒนา จังหวัดมหาสารคาม.
กลุ่มที่ 7 ไก่บูรพา วิทยากร อ.พลภัทร วารี ผู้ช่วยวิทยากรสมชาย ชะฎาดำ.
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กลุ่มที่ 1 กลุ่มที่ 1 ดอกแก้วภูพาน จ. สกลนคร จ. สุรินทร์ จ. หนองคาย จ. หนองบัวลำภู จ. อุดรธานี
ศูนย์ศึกษาและพัฒนาลำไยหริภุญชัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร
โครงการศูนย์เรียนรู้พันธุ์พืชอำเภอ
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพ การผลิตพืชเศรษฐกิจ (สับปะรด)
โครงการ ส่งเสริมสินค้าเกษตรปลอดภัย(พืชผัก)
โครงการ ส่งเสริมสินค้าเกษตรปลอดภัย(พืชผัก)
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตกาแฟ
สำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตร
แผนปฏิบัติงาน 5 ปี (2553 – 2557) นิคมการเกษตรข้าวหอมมะลิ
การจัดทำฐานข้อมูลการผลิตและการตลาดของสมาชิก
ทิศทางการพัฒนาการเกษตรไทย
รายงานผลการปฏิบัติงาน ปีงบประมาณ 2553 สำนักงานประมงจังหวัดอุตรดิตถ์ ณ เดือนสิงหาคม 2553 สำนักงานประมงจังหวัด อุตรดิตถ์ ณ วันที่ 30 สิงหาคม 2553 เสนอ ผู้ตรวจราชการกระทรวงเกษตร.
การพัฒนาพื้นที่พิเศษ
จุดเน้น/กลยุทธ์ ในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการประจำปี 2555
การพัฒนาระบบการผลิตไก่พื้นเมืองฯ เพื่อสร้างโอกาส
สำนักงานสหกรณ์ จังหวัดสมุทรสงคราม สหกรณ์ก้าวไกล ด้วยน้ำ พระทัยในหลวง.
นโยบาย ให้ความสำคัญกับเรื่องการเพิ่มมูลค่าผลผลิต ทั้ง แปรรูปเป็นอาหาร และเป็นผลิตภัณฑ์ ตลอดจนการส่งเสริมการบริโภค และขยายการตลาด เน้นการขับเคลื่อนกิจกรรมที่
สัมมนากลุ่ม 3 คำถามข้อที่ 2 และ 5 เขต 7, 8, 9 21/8/14.
กลุ่มสับปะรด 1. นายนิวัต ใจรินทร์ สนง.กษจ.ลำปาง(ประธาน )
ชี้แจงแนวทาง การช่วยเหลือเกษตรกรผู้ปลูกข้าว ในฤดูการผลิต ปี 2557/58
สรุปผลการจัดตั้งตลาดเกษตรกร ของสหกรณ์การเกษตรสบปราบ จำกัด จังหวัดลำปาง
ประชุมสัมมนา เจ้าหน้าที่ส่งเสริมปศุสัตว์สู่ Smart Officer
วาระแห่งชาติด้านการเกษตร (National Agenda)
วิสัยทัศน์ทางการค้า ศูนย์กลางการค้า การลงทุน การท่องเที่ยวครบวงจร.
โครงการบริหารจัดการผลไม้ ภาคตะวันออก ปี 2552 สำนักงานจังหวัดตราด ได้รับอนุมัติวงเงิน 6,200,000 บาท ดังนี้
แผน / ผลการปฏิบัติงาน ประจำปี งบประมาณ พ. ศ กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาธุรกิจสหกรณ์ / กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 1- 4 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดตราด (1 ต. ค
ยุทธศาสตร์การพัฒนาสินค้าข่าเหลือง
กิจกรรมพัฒนาตลาดและเครือข่ายการผลิต
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โครงการที่ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนปรับโครงสร้างการผลิตภาคเกษตรเพื่อเพิ่มขีดความสามารถการแข่งขันของประเทศ

โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตและเพิ่มมูลค่าสุกร ของชุมนุมสหกรณ์การปศุสัตว์ภาคตะวันออก จำกัด ได้รับการสนับสนุนงบประมาณ 28,624,600.- บาท ระยะเวลาการดำเนินการ เป็นระยะเวลา 10 ปี ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2552-2561 ดำเนินกิจกรรมต่างๆ ดังนี้

กิจกรรมที่ 1: การฝึกอบรมสมาชิกสหกรณ์ผู้เลี้ยง สุกรและเกษตรกรผู้เลี้ยงสุกร โดยชุมนุมสหกรณ์การปศุสัตว์ภาคตะวันออก จำกัด ดำเนินการร่วมกับสถาบันสุวรรณวาจกสิกิจฯ กรมส่งเสริมสหกรณ์ กรมปศุสัตว์ และสถาบันการศึกษาต่างๆ เพื่อทำการฝึกอบรมสมาชิกสหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร และเกษตรกรผู้เลี้ยงสุกรในเขต ภาคตะวันออก ให้เข้าใจวิธีการเลี้ยงและการผลิตสุกรแผนใหม่ที่มีประสิทธิภาพสูงขึ้น ต้นทุนการผลิตลดลง จำนวนปีละ 640 คน เป็นเวลา 4 ปี รวมมีผู้เข้ารับการฝึกอบรมทั้งสิ้น 2,560 คน

กิจกรรมที่ 2 : ศูนย์การผลิตอาหารสัตว์ครบวงจรสำหรับสมาชิกสหกรณ์ผู้เลี้ยงสุกรและเกษตรกรในเขตภาคตะวันออก ดำเนินการโดย สหกรณ์ปศุสัตว์และสัตว์น้ำฉะเชิงเทรา จำกัด จังหวัดฉะเชิงเทรา เพื่อทำการผลิตอาหารสัตว์คุณภาพดีราคายุติธรรม กำลังการผลิตอาหาร45 ตัน/ วัน จำหน่ายให้กับสมาชิกสหกรณ์ผู้เลี้ยงสุกรภาคตะวันออกทั้งระบบ

กิจกรรมที่ 3 : ศูนย์จำหน่ายเนื้อสุกรคุณภาพดี ราคายุติธรรม ของสหกรณ์ปศุสัตว์และสัตว์น้ำฉะเชิงเทรา จำกัด ดำเนินการโดยสหกรณ์ปศุสัตว์และสัตว์น้ำฉะเชิงเทรา จำกัด จังหวัดฉะเชิงเทรา เพื่อการพัฒนาระบบการตลาดสุกรมีชีวิตและการตลาดเนื้อสุกรผลิตโดยสมาชิกสหกรณ์ ให้ถึงผู้บริโภคโดยตรงเพื่อเป็นการลดผลกระทบจากการผันผวนของราคาสุกรมีชีวิต และการได้รับส่วนเหลื่อมการตลาดกลับคืนให้สมาชิกสหกรณ์

กิจกรรมที่ 4 : การเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์จากเนื้อสุกรแปรรูป เป็นผลิตภัณฑ์ต่างๆของสมาชิกสหกรณ์ผู้เลี้ยงสุกรรายย่อย ดำเนินการโดยสหกรณ์ปศุสัตว์และสัตว์น้ำฉะเชิงเทรา จำกัด จังหวัดฉะเชิงเทรา ได้แก่การพัฒนาเนื้อสุกรให้เป็นไส้กรอกอีสานและผลิตภัณฑ์เนื้อสุกรอื่นๆ รวมทั้งการพัฒนาระบบการตลาดของผลิตภัณฑ์เนื้อสุกรดังกล่าวเพื่อการเพิ่มมูลค่าเนื้อสุกรให้มากขึ้น รวมทั้งการเพิ่มช่องทางการจำหน่ายเนื้อสุกรให้กว้างขวางมากขึ้น

กิจกรรมที่ 5 : การเพิ่มศักยภาพการเลี้ยงสุกรและสถานที่จำหน่ายเนื้อสุกรชำแหละเพื่อความปลอดภัยด้านอาหารของสหกรณ์การเกษตรผู้เลี้ยงสัตว์ระยอง จำกัด ดำเนินการโดยสหกรณ์การเกษตรผู้เลี้ยงสัตว์ระยอง จำกัด จังหวัดระยอง เพื่อการพัฒนา การเลี้ยงสุกรของสมาชิกสหกรณ์ให้ได้มาตรฐานของกรมปศุสัตว์ รวมทั้งการพัฒนาระบบการตลาดเพื่อการจัดจำหน่ายเนื้อสุกรสะอาดและปลอดภัยที่ผลิตโดยสมาชิกสหกรณ์ให้ถึงมือผู้บริโภคโดยตรง

กิจกรรมที่ 6 : การพัฒนาและเพิ่มประสิทธิภาพการเลี้ยงสุกรของสมาชิกสหกรณ์ผู้เลี้ยงสุกรและการปศุสัตว์ตราด จำกัด ดำเนินการโดยสหกรณ์ผู้เลี้ยงสุกรและการปศุสัตว์ตราด จำกัด จังหวัดตราด เพื่อการพัฒนาการเลี้ยงสุกรของสมาชิกผู้เลี้ยงสุกร และการปศุสัตว์ตราด จำกัด ให้มีมาตรฐานสูงขึ้นตามกฎเกณฑ์กำหนดโดยกรมปศุสัตว์ ต้นทุนการผลิตต่ำลง และสามารถผลิตได้เพียงพอกับความต้องการของตลาดมากขึ้น

2. โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตและเพิ่มมูลค่าสุกรของสหกรณ์ผู้เลี้ยงสุกรอุตรดิตถ์ จำกัด ได้รับการสนับสนุนงบประมาณ 6,947,000.- บาท เพื่อให้สหกรณ์ดำเนินการตามโครงการ ดังนี้ - การฝึกอบรมสมาชิกสหกรณ์ผู้เลี้ยงสุกรและเกษตรกรผู้เลี้ยงสุกร 300 คน/ปี - สร้างโรงผลิตอาหารสัตว์คุณภาพดีราคายุติธรรม กำลังการผลิตอาหาร 5 ตัน/ วัน