ภาษาทางสื่อวิทยุกระจายเสียง

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
Advertisements

สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
บทที่ 4 การออกแบบ User Interface
ประเภทและระดับ ของการสื่อสาร
สื่อการสอนโดยใช้โปรแกรม Power Point
บทเรียนโปรแกรม Power Point
1 ข้อแนะนำในการสร้าง Web โครงการ โดย ดร. วรินทร์ สุวรรณวิสูตร อาจารย์ผู้ประสานงานวิชาโครงการ.
เสียงตามสายเพื่อการศึกษา
รายงานการวิจัย.
การติดต่อสื่อสาร สร้างสรรค์ประโยชน์ สร้างความประทับใจที่ดี
1 ข้อแนะนำในการสร้าง Web โครงการ ดร. วรินทร์ สุวรรณวิสูตร ( ไม่ยืนยันว่าครบถ้วนตามหลักวิชาการ )
สรุปภาพรวมหน่วยการเรียนรู้
เรื่อง เขาเป็นใครหนอ ? เขามาจากไหน ?
สร้างสรรค์งานโดย ครูพงศ์ศักดิ์ อินปา
งานนำเสนอแฟ้มสะสมผลงาน Joseph Jacobs
สรุปผลรวมของการเรียนรู้
โครงงาน “นำเที่ยวงานชมรมนิทรรศน์”
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
ภาพรวมของแนวคิดโครงงาน
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
สรุปภาพรวมการเรียนรู้ เรื่อง ข้าวสาลีมีความสำคัญต่อ
สรุปภาพรวมการเรียนรู้ เรื่อง หมุนเวลาพาเพลิน
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
สรุปภาพรวมของการเรียนรู้
ครูอิงครัต กังวาลย์ โรงเรียนทุ่งสง
CURADIO FEEDBACK SYSTEM TO PUBLIC
ตัวชี้วัด รายวิชา อ ต 1.1 ม.2/1 ปฏิบัติตามคำขอร้อง คำแนะนำ คำ ชี้แจง และคำอธิบาย ง่าย ๆ ที่ฟังและ ชี้แจง และคำอธิบาย ง่าย ๆ ที่ฟังและ อ่าน อ่าน.
วิธีการทางสุขศึกษา.
ดัชนีชี้วัดความ เข้มแข็งวิทยุชุมชน
คอมพิวเตอร์ช่วยสอน ประเภทติวเตอร์ Tutorial.
การสร้างสื่อประสมบทเรียนช่วยสอน Multimedia ผ่าน Internet
การสื่อสารเพื่อการบริการ
ทักษะภาษาไทยที่นักเรียนควรทราบ
Proposal / Profile : ทำเพื่อเสนอต่อสถานีโทรทัศน์ ขอช่องทางออกอากาศ
การสื่อสารเพื่อสร้างมนุษยสัมพันธ์
ภาษาทางสื่อ วิทยุโทรทัศน์
หน่วยที่ 5 ภาษาทางสื่อ ภาพยนตร์.
หน่วยที่ 1 ภาษากับการสื่อสาร.
ภาษาทางสื่อ มิวสิควิดีโอ
ธุรกิจ จดหมาย.
เพื่อการสื่อสารทางธุรกิจ
แบบประเมินก่อนเรียน แบบประเมินก่อนเรียน Part 8.
1 3 - Part 7 แบบประเมินก่อนเรียน แบบประเมินหลังเรียน.
การจัดกระทำข้อมูล.
บทนำ บทที่ 1.
ภาษาวิทยุกระจายเสียง
กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
วิชา ทักษะภาษาไทยเพื่ออาชีพ
การฟังและการอ่านให้เกิดวิจารณญาณ
นอกจากบรรณานุกรมดังกล่าวแล้ว ยังแบ่งบรรณานุกรมโดยแยกย่อยได้ เช่น
การฟังเพลง.
เทคนิคการรวบรวมข้อมูล
ผู้อำนวยกลุ่มการเรียนรู้ (Learning Facilitator)
เอกสารประกอบวิชาการอ่าน เรื่อง ความรู้พื้นฐานเรื่องการอ่าน
องค์ประกอบในการสร้างสรรค์รายการวิทยุโทรทัศน์
การเขียนบทวิทยุกระจายเสียง. ขั้นตอนการเขียนบทรายการวิทยุ ขั้นเริ่มต้นแนวคิด (Begin with idea) จะเป็น การบอกแนวทาง ขอบเขตและการวาง แผนการผลิตในอนาคต.
พระราชบัญญัติการประกอบกิจการ กระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์ พ.ศ. ๒๕๕๑
สปอตวิทยุ.
โรงเรียนสายธรรม กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
การเขียนรายงานผลการวิจัย
การเขียนบทโฆษณา และการผลิตภาพยนตร์โฆษณา
แบบทดสอบ คือ... ชุดของข้อคำถามที่สร้าง ขึ้นเพื่อใช้วัดความรู้ สติปัญญา ความถนัด และ บุคลิกภาพของบุคคล โดย บุคคลนั้นจะตอบสนองโดย การแสดงพฤติกรรมใน รูปแบบต่างๆ.
การผลิตรายการโทรทัศน์
ภาษาและเทคโนโลยีสารสนเทศสำหรับครู
ความสัมพันธ์ของการฟังและการดู ผู้สอน ครูณรงค์ฤทธิ์ ศักดารณรงค์
บทวิทยุโทรทัศน์เป็นการเขียนเพื่อชมและ ฟัง ผู้เขียนบทรายการข่าวทั่วไปต้องยึด แนวทางที่ทำให้ผู้รับสารเกิดความเข้าใจ ได้ง่ายและไม่สับสนและใช้โครงสร้างการ.
การเขียนจดหมายธุรกิจ
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
การนำเสนอสารด้วยวาจา
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ภาษาทางสื่อวิทยุกระจายเสียง หน่วยที่ 3 ภาษาทางสื่อวิทยุกระจายเสียง

วัตถุประสงค์การเรียน 1. เพื่อให้นิสิตมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับลักษณะสำคัญของสื่อวิทยุกระจายเสียง 2. เพื่อให้นิสิตมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการใช้ภาษาในสื่อวิทยุกระจายเสียง

ลักษณะสำคัญของสื่อวิทยุกระจายเสียง วิทยุกระจายเสียงช่วยสร้างจินตนาการเกี่ยวกับภาพต่าง ๆ วิทยุกระจายเสียงสามารถสร้างความสัมพันธ์อันดีกับผู้ฟัง วิทยุกระจายเสียงเป็นสื่อที่สามารถเข้าถึงผู้ฟังได้ง่าย

4. มีความรวดเร็วในการสื่อสาร 5. ใช้ได้ง่าย มีความยืดหยุ่นสูง 6. ราคาถูก 7. มีลักษณะเฉพาะเจาะจง

8. กระตุ้นอารมณ์ สร้างชีวิตชีวา 9. เป็นการให้ข้อมูลข่าวสารเพื่อสร้างการเรียนรู้แก่ผู้ฟัง 10. เป็นสื่อสำหรับเสียงเพลง /ดนตรี

ประเภทของวิทยุกระจายเสียง พิจารณาตามกำลังส่งออกอากาศ - สถานีวิทยุกระจายเสียงระดับประเทศ - สถานีวิทยุกระจายเสียงท้องถิ่น - สถานีวิทยุกระจายเสียงชุมชน

รูปแบบรายการวิทยุกระจายเสียง 1. รายการพูดคุย 2. รายการข่าว 3. รายการสารคดี 4. รายการนิตยสารทางอากาศ 5. รายการสาระบันเทิงปกิณกะ

รูปแบบรายการวิทยุกระจายเสียง 6. รายการละคร 7. รายการดนตรี 8. รายการโฆษณาและประกาศรณรงค์

หลักการใช้ภาษาทางสื่อวิทยุกระจายเสียง 1. เปล่งเสียงที่เป็นธรรมชาติ 2. อ่าน/พูดถูกอักขระวิธี 3. อ่าน/พูด ชัดเจน 4. อ่าน/พูดตรงตามคำ ไม่เพี้ยน 5. เน้นคำ/ความอย่างเหมาะสม

ข้อเสนอแนะสำหรับนักจัดรายการวิทยุ 1. พูดเพื่อสร้างจินตนาการแก่ผู้ฟัง และเข้าใจง่าย 2. มีเอกลักษณ์เป็นของตัวเอง 3. หลีกเลี่ยงการใช้คำฟุ่มเฟือย ไม่มีความหมาย 4. หลีกเลี่ยงคำพูดที่แสดงการอวดรู้/ดูถูกผู้ฟัง

5. ไม่ควรพูดเรื่องส่วนตัวของตัวเอง หรือหยอกล้อกับผู้ฟังคนใดคนหนึ่งโดยเฉพาะในรายการ 6. ใช้ภาษาสุภาพให้เกียรติผู้ฟัง 7. การเปิดเพลงควรเลือกให้เหมาะสมกับผู้ฟังและกาลเทศะ เป็นเพลงที่ไม่หยาบคาย สองแง่สองง่าม 8. การใช้เสียงประกอบควรคำนึงถึงความเหมาะสมและสื่อความ

9. ผู้ผลิตรายการควรคำนึงถึงกฎหมายที่ เกี่ยวกับการกระจายเสียง 10. นักจัดรายการวิทยุควรคำนึงถึงจรรยาบรรณวิชาชีพด้วย

คำถามท้ายหน่วยที่ 3 1. สื่อวิทยุกระจายเสียงมีลักษณะสำคัญอย่างไร 2. ยกตัวอย่างภาษาที่ไม่เหมาะสมในสื่อวิทยุกระจายเสียง พร้อมให้เหตุผลอธิบายสนับสนุนว่า ตัวอย่างที่ยกมานั้นมีการใช้ภาษาที่ไม่เหมาะสมอย่างไรบ้าง