ภาษาทางสื่อวิทยุกระจายเสียง หน่วยที่ 3 ภาษาทางสื่อวิทยุกระจายเสียง
วัตถุประสงค์การเรียน 1. เพื่อให้นิสิตมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับลักษณะสำคัญของสื่อวิทยุกระจายเสียง 2. เพื่อให้นิสิตมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการใช้ภาษาในสื่อวิทยุกระจายเสียง
ลักษณะสำคัญของสื่อวิทยุกระจายเสียง วิทยุกระจายเสียงช่วยสร้างจินตนาการเกี่ยวกับภาพต่าง ๆ วิทยุกระจายเสียงสามารถสร้างความสัมพันธ์อันดีกับผู้ฟัง วิทยุกระจายเสียงเป็นสื่อที่สามารถเข้าถึงผู้ฟังได้ง่าย
4. มีความรวดเร็วในการสื่อสาร 5. ใช้ได้ง่าย มีความยืดหยุ่นสูง 6. ราคาถูก 7. มีลักษณะเฉพาะเจาะจง
8. กระตุ้นอารมณ์ สร้างชีวิตชีวา 9. เป็นการให้ข้อมูลข่าวสารเพื่อสร้างการเรียนรู้แก่ผู้ฟัง 10. เป็นสื่อสำหรับเสียงเพลง /ดนตรี
ประเภทของวิทยุกระจายเสียง พิจารณาตามกำลังส่งออกอากาศ - สถานีวิทยุกระจายเสียงระดับประเทศ - สถานีวิทยุกระจายเสียงท้องถิ่น - สถานีวิทยุกระจายเสียงชุมชน
รูปแบบรายการวิทยุกระจายเสียง 1. รายการพูดคุย 2. รายการข่าว 3. รายการสารคดี 4. รายการนิตยสารทางอากาศ 5. รายการสาระบันเทิงปกิณกะ
รูปแบบรายการวิทยุกระจายเสียง 6. รายการละคร 7. รายการดนตรี 8. รายการโฆษณาและประกาศรณรงค์
หลักการใช้ภาษาทางสื่อวิทยุกระจายเสียง 1. เปล่งเสียงที่เป็นธรรมชาติ 2. อ่าน/พูดถูกอักขระวิธี 3. อ่าน/พูด ชัดเจน 4. อ่าน/พูดตรงตามคำ ไม่เพี้ยน 5. เน้นคำ/ความอย่างเหมาะสม
ข้อเสนอแนะสำหรับนักจัดรายการวิทยุ 1. พูดเพื่อสร้างจินตนาการแก่ผู้ฟัง และเข้าใจง่าย 2. มีเอกลักษณ์เป็นของตัวเอง 3. หลีกเลี่ยงการใช้คำฟุ่มเฟือย ไม่มีความหมาย 4. หลีกเลี่ยงคำพูดที่แสดงการอวดรู้/ดูถูกผู้ฟัง
5. ไม่ควรพูดเรื่องส่วนตัวของตัวเอง หรือหยอกล้อกับผู้ฟังคนใดคนหนึ่งโดยเฉพาะในรายการ 6. ใช้ภาษาสุภาพให้เกียรติผู้ฟัง 7. การเปิดเพลงควรเลือกให้เหมาะสมกับผู้ฟังและกาลเทศะ เป็นเพลงที่ไม่หยาบคาย สองแง่สองง่าม 8. การใช้เสียงประกอบควรคำนึงถึงความเหมาะสมและสื่อความ
9. ผู้ผลิตรายการควรคำนึงถึงกฎหมายที่ เกี่ยวกับการกระจายเสียง 10. นักจัดรายการวิทยุควรคำนึงถึงจรรยาบรรณวิชาชีพด้วย
คำถามท้ายหน่วยที่ 3 1. สื่อวิทยุกระจายเสียงมีลักษณะสำคัญอย่างไร 2. ยกตัวอย่างภาษาที่ไม่เหมาะสมในสื่อวิทยุกระจายเสียง พร้อมให้เหตุผลอธิบายสนับสนุนว่า ตัวอย่างที่ยกมานั้นมีการใช้ภาษาที่ไม่เหมาะสมอย่างไรบ้าง