ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวิจัย หน่วยการเรียนที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวิจัย
5. การเลือกปัญหาในการวิจัย และขอบเขตของการวิจัย โครงสร้างเนื้อหา 1. ความหมายของการวิจัย 2. ประโยชน์ของการวิจัย 3. ประเภทของการวิจัย 4. ขั้นตอนของการวิจัย 5. การเลือกปัญหาในการวิจัย และขอบเขตของการวิจัย
กรอบแนวคิดหลัก การวิจัยมีความหมายหรือนิยามแตกต่างกัน ซึ่งการวิจัยมีหลายประเภทสามารถจำแนกประเภท ได้หลายลักษณะขึ้นกับว่าจะใช้เกณฑ์ใดในการจำแนก การวิจัยจะต้องดำเนินการตามลำดับขั้นตอนที่ถูกต้อง
วัตถุประสงค์ 1. ผู้เรียนสามารถให้คำนิยาม 1. ผู้เรียนสามารถให้คำนิยาม ความหมายของการวิจัยได้อย่างถูกต้อง 2. ผู้เรียนสามารถอธิบายประโยชน์ของ การวิจัยได้อย่างหลากหลายและครบถ้วน 3. ผู้เรียนสามารถจำแนกประเภทของ การวิจัยตามเกณฑ์ต่าง ๆ ในการจำแนก
วัตถุประสงค์ 4. ผู้เรียนเขียนอธิบายขั้นตอนของการวิจัยได้ 4. ผู้เรียนเขียนอธิบายขั้นตอนของการวิจัยได้ อย่างถูกต้องและครบถ้วน 5. ผู้เรียนเลือกปัญหาการวิจัยที่ตรงกับความสนใจ ความถนัด มีลู่ทางที่จะวิจัยได้สำเร็จ
กิจกรรม 1. ศึกษานิยามในหน่วยการเรียนที่ 1 อภิปราย 1. ศึกษานิยามในหน่วยการเรียนที่ 1 อภิปราย แต่ละนิยามและเสนอทัศนะตนเอง 2. ศึกษาประโยชน์ของการวิจัย ยกตัวอย่างเพิ่มเติม 3. จัดประเภทของการวิจัย จากชื่อเรื่องการวิจัย ที่ยกตัวอย่างมาให้ 10 ชื่อเรื่อง 4. เสนอชื่อเรื่องที่สนใจวิจัย 2 ชื่อเรื่อง
ความหมายของการวิจัย 1. ให้ความหมายตามคำศัพท์ “Research” (Re + Search) 2. ให้ความหมายตามลักษณะและธรรมชาติ ของการวิจัย
ประโยชน์ของการวิจัย 1. ช่วยให้ได้ความรู้ใหม่ทั้งทางทฤษฎีและปฏิบัติ 1. ช่วยให้ได้ความรู้ใหม่ทั้งทางทฤษฎีและปฏิบัติ 2. ช่วยพิสูจน์หรือตรวจสอบความถูกต้องของ กฎเกณฑ์ หลักการ และทฤษฎีต่าง ๆ 3. ช่วยให้เข้าใจสถานการณ์ ปรากฏการณ์ และพฤติกรรมต่าง ๆ
ประโยชน์ของการวิจัย 4. ช่วยพยากรณ์ผลภายหน้าของสถานการณ์ 4. ช่วยพยากรณ์ผลภายหน้าของสถานการณ์ ปรากฏการณ์ และพฤติกรรมต่าง ๆ ได้อย่างถูกต้อง 5. ช่วยแก้ไขปัญหาได้ถูกต้องและมีประสิทธิภาพ 6. ช่วยการวินิจฉัย ตัดสินใจได้อย่างเหมาะสม 7. ช่วยปรับปรุงการทำงานให้มีประสิทธิภาพ 8. ช่วยปรับปรุงพัฒนาสภาพความเป็นอยู่ และวิธีดำเนินชีวิตให้ดียิ่งขึ้น
ประเภทของการวิจัย 1. แบ่งตามระเบียบวิธีวิจัย 2. แบ่งตามสาขาวิชา 1. แบ่งตามระเบียบวิธีวิจัย 2. แบ่งตามสาขาวิชา 3. แบ่งตามประโยชน์ที่ได้รับ 4. แบ่งตามวิธีการศึกษา 5. แบ่งตามชนิดของข้อมูล 6. แบ่งตามเวลา 7. แบ่งตามการควบคุมตัวแปร
2. ศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้อง 3. เขียนเค้าโครงการวิจัย ขั้นตอนของการวิจัย 1. เลือกหัวข้อปัญหา 2. ศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้อง 3. เขียนเค้าโครงการวิจัย 4. สร้างเครื่องมือในการรวบรวมข้อมูล
8. ตีความผลการวิเคราะห์ 9. เขียนรายงานการวิจัยจัดพิมพ์และเผยแพร่ ขั้นตอนของการวิจัย 5. เลือกกลุ่มตัวอย่าง 6. เก็บรวบรวมข้อมูล 7. จัดกระทำกับข้อมูล 8. ตีความผลการวิเคราะห์ 9. เขียนรายงานการวิจัยจัดพิมพ์และเผยแพร่
การเลือกหัวข้อวิจัย การที่จะได้หัวข้อวิจัย จะอาศัยประสบการณ์ต่างๆ ได้แก่ ศึกษางานวิจัย ศึกษาทฤษฎี แนวคิด เข้าร่วมประชุม สัมมนา การประกาศให้ทุน ปรึกษานักวิจัย อาจารย์ จากปัญหาที่ประสบ
เกณฑ์ในการเลือกปัญหา การเลือกปัญหาวิจัยควรยึดเกณฑ์ต่อไปนี้ สนใจจริง สำคัญจริง ทำได้จริง มีความรู้พอ มีทุนพอ แหล่งค้นคว้าพอ ขอความร่วมมือได้พอ
ชื่อเรื่อง ภูมิหลัง วัตถุประสงค์ ความสำคัญ ขอบเขต นิยาม ศัพท์เฉพาะ เค้าโครงวิจัยประกอบด้วยสาระๆ ตามหัวข้อดังนี้ ชื่อเรื่อง ภูมิหลัง วัตถุประสงค์ ความสำคัญ ขอบเขต นิยาม ศัพท์เฉพาะ