รศ. ดร. สุนีย์ เหมะประสิทธิ์ การวิจัยชั้นเรียนเพื่อการพัฒนาคุณภาพของผู้เรียน ในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดย รศ. ดร. สุนีย์ เหมะประสิทธิ์
องค์ความรู้ของการทำงานวิจัย ความรู้เกี่ยวกับ ระเบียบวิธีวิจัย ความรู้ใน เนื้อหา/ศาสตร์ ที่ทำวิจัย ความรู้เกี่ยวกับ ระเบียบวิธีวิจัย ความรู้เกี่ยวกับ การวิเคราะห์ข้อมูล
กระบวนการวิจัยเชิงปฏิบัติการ ขั้นที่ 1 ค้นหา / กำหนด แนวคิดและประเด็นการวิจัย ขั้นที่ 2 วางแผนการวิจัย (หาทางแก้) ขั้นที่ 3 ปฏิบัติการวิจัย ขั้นที่ 4 สะท้อน
ภาพ 3 วงจร PDCA เพื่อการพัฒนาคุณภาพ P1 P2 A1 D1 A2 D2 C1 C2 P3 P = plan D= do C= check A = act วางแผน ดำเนินการ ตรวจสอบ สะท้อนและปรับปรุง ภาพ 3 วงจร PDCA เพื่อการพัฒนาคุณภาพ
การทำวิจัยในชั้นเรียน สามารถกระทำได้ดังนี้ ทำซ้ำ (Replicate) ปรับใหม่ (Adapt) ขยาย (Extend) คิดขึ้นใหม่ (Identify)
ออกแบบ / วางแผนการวิจัย ทฤษฎี หลักการ หลักเหตุผล งานวิจัยผู้อื่น กำหนดปัญหาการวิจัย แหล่งข้อมูลต่างๆ แผนผังแสดง ขั้นตอนของ กระบวน การวิจัย ประชุมสัมมนา ตัวผู้วิจัย: ความรู้ /ความสนใจ จุดประสงค์การวิจัย จะใช้การวิจัยประเภทใด ตัวแปรมีอะไรบ้าง กลุ่มประชากรและการสุ่มตัวอย่าง เครื่องมือการวิจัยมีอะไรบ้าง เก็บข้อมูลอย่างไร วิธีใด วิเคราะห์ข้อมูลอย่างไร ออกแบบ / วางแผนการวิจัย เก็บข้อมูล ดำเนินการวิจัย วิเคราะห์ข้อมูล เขียนรายงาน ผลวิจัย
ประเภทของการวิจัยเชิงปฏิบัติการ แบบทดลอง (1) One group Pretest – Posttest Design Exp gr.: Pretest (T1) Posttest (T2) X
X (2) A Longitudinal Time Design ( Longitudinal Single Group Design ) Exp gr. : T1 T2 T3 T4 X T1 T2 T3 T4
with Control Group X X Exp gr. : T1 T2 T3 T4 Con gr. : T1 T2 ~ T3 T4 (3) A Longitudinal Time Design with Control Group Exp gr. : T1 T2 T3 T4 X Con gr. : T1 T2 ~ T3 T4 X
(4) Posttest - Only Design with Nonequivalent Groups Exp gr. : Posttest (T2) Con gr. : ~ Posttest (T2) X X
โครงร่างการวิจัยในชั้นเรียน 1. ชื่อ 2. ความเป็นมาของปัญหา 3. วัตถุประสงค์ 4. สมมติฐาน 5. ผลที่คาดว่าจะได้รับ 6. ขอบเขตการวิจัย กลุ่มเป้าหมาย ตัวแปร (อิสระ, ตาม) เวลาสถานที่ เนื้อหาที่ใช้ 7. นิยามศัพท์เฉพาะ 8. วิธีดำเนินการวิจัย ขั้นเตรียม ขั้นสร้าง/พัฒนา ขั้นทดลอง ขั้นวิเคราะห์ข้อมูล 9. แผนปฏิบัติงาน 10. งบประมาณ 11. เอกสารงานวิจัย ที่เกี่ยวข้อง 12. บรรณานุกรม
การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ สถิติบรรยาย ความถี่/ ร้อยละ ค่าตัวกลาง: X, Mo, Md การวัดการกระจาย: S.D, R สถิติอนุมาน การทดสอบสมมติฐาน การประมาณค่า การพยากรณ์ การพรรณนา การวิเคราะห์เนื้อหา กรณีศึกษา การวิเคราะห์ข้อมูล เชิงคุณภาพ
กลวิธีการเขียนรายงานวิจัยชั้นเรียน โดย รศ. ดร. สุนีย์ เหมะประสิทธิ์ คณะศึกษาศาสตร์ มศว (2551)
องค์ประกอบของรายงานวิจัยชั้นเรียน ส่วนที่ 1 ส่วนประกอบตอนต้น ส่วนที่ 2 ส่วนประกอบเนื้อเรื่อง ส่วนที่ 3 ส่วนประกอบตอนท้าย
ส่วนที่ 1 ส่วนประกอบตอนต้น 1. หน้าปก ให้ระบุคำว่า “รายงานการวิจัย” และชื่อเรื่อง* พร้อมทั้งชื่อผู้วิจัยและหน่วยงาน 2. กิตติกรรมประกาศ คำขอบคุณให้ความร่วมมือและผู้ให้ทุน 3. บทคัดย่อ 4. สารบัญเรื่อง 5. สารบัญตาราง 6. สารบัญภาพ
ส่วนที่ 2 ส่วนประกอบเนื้อเรื่อง บทที่ 1 บทนำ 1. ความสำคัญและที่มาของปัญหา* 2. การทบทวนเอกสารแนวคิดและทฤษฎีที่นำมาใช้ในการวิจัย 3. วัตถุประสงค์ * 4. คำถามของการวิจัย
5. สมมติฐานการวิจัย (สมมติฐานการวิจัย.pptถ้ามี) 6. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 7. ขอบเขตการวิจัย (ตัวแปร ประเด็นที่ศึกษา เวลา) 8. นิยามศัพท์นิยามศัพท์.doc
บทที่ 2 วิธีดำเนินการวิจัย เขียนได้ 2 ลักษณะ ลักษณะที่ 1 ประเภทหรือแบบแผนการวิจัย กลุ่มประชากรและการสุ่มกลุ่มตัวอย่าง หรือกลุ่มเป้าหมาย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย การดำเนินการเก็บรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล
บทที่ 2 วิธีดำเนินการวิจัย ลักษณะที่ 2 1. ขั้นเตรียม 2. ขั้นสร้าง/พัฒนา 3. ขั้นทดลอง 4. ขั้นวิเคราะห์ข้อมูล
บทที่ 3 ผลการวิจัย ผลวิจัยในเชิงปริมาณ 2. ผลวิจัยในเชิงคุณภาพ
บทที่ 4 สรุป อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ 1. สรุปผลวิจัย 2. อภิปรายและวิจารณ์ผลการวิจัย ทั้งที่สอดคล้องและไม่สอดคล้องกับสมมติฐานที่ตั้งไว้ 3. ข้อเสนอแนะ 3.1 สำหรับการนำผลวิจัยไปใช้ 3.2 สำหรับการวิจัยครั้งต่อไป
ส่วนที่ 3 ส่วนประกอบตอนท้าย บรรณานุกรม :รายชื่อเอกสารอ้างอิงโดยเรียงลำดับ ตัวอักษร ภาคผนวก : ได้แก่ รายชื่อผู้ทรงคุณวุฒิ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ตัวอย่างแผนการจัดการเรียนรู้ภาพการจัดกิจกรรม ผลงานนักเรียน ตารางคะแนนของนักเรียนเป็นรายบุคคล