บทที่ 4 งบการเงิน.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การคำนวณกระแสเงินสด คำนวณกระแสเงินสดเพื่อใช้ประเมินโครงการลงทุน (Capital budgeting)
Advertisements

สำนักวิชาบัญชี มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย
บทที่ 1 ลักษณะของระบบบัญชี
การขายผ่อนชำระและการเช่าซื้อ
บทที่ 4 การร่วมค้า การร่วมค้า หมายถึง การประกอบกิจกรรมเชิงเศรษฐกิจ
ศันสนีย์ เทพปัญญา คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ
การจัดการเงินทุนหมุนเวียน
สำนักวิชาบัญชี มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย
บทที่ 3 การเปลี่ยนแปลงในส่วนของ ผู้เป็นหุ้นส่วน
สินทรัพย์หมุนเวียน-สินค้า เงินสด+หลักทรัพย์+ลูกหนี้
SYRUS Securities PLC. ก้าวสู่การลงทุนในตลาดหลักทรัพย์ SYRUS Securities PLC.
ฐานะการเงิน ผลการดำเนินงาน และ สมการทางบัญชี
การบัญชีวิสาหกิจชุมชน
งบประมาณ และ กลยุทธ์ทางด้านการเงิน ธนชัย ผู้พัฒน์
Statement of Cash Flows
การเปิดเผยข้อมูลและ นโยบายการบัญชี
การบันทึกรายการปรับปรุง
หลักการบัญชีคู่ (Double-Entry Accounting)
การวิเคราะห์รายการค้า และหลักการบันทึกบัญชี
หนี้สงสัยจะสูญและหนี้สูญ
สถานการณ์ด้านการเงินการคลัง
ลงรายการบัญชีทุกวันเป็นประจำทุกเดือน
งบการเงินตามแนวคิดการบริหารและต้นทุนจริง
การปฏิบัติเกี่ยวกับบัญชีเกณฑ์คงค้าง
บทที่ 12 สินทรัพย์ไม่มีตัวตน ประเภทของสินทรัพย์ไม่มีตัวตน
บทที่ 5 การจัดหาเงินทุนระยะสั้นและระยะปานกลาง Short- Term and Intermediate-Term Financing.
บทที่ 7 การบัญชีเกี่ยวกับการจัดซื้อ และการควบคุมสินค้าคงเหลือ
The Analysis And Use of Financial Statement
ระบบบัญชีเดี่ยว.
บทที่ 6 การบัญชีสำหรับกิจการซื้อ-ขายสินค้า
การเปลี่ยนแปลงทางบัญชี และการแก้ไขข้อผิดพลาด
การบันทึกรายการค้าในสมุดบัญชี
การทำความเข้าใจกับงบทดลอง
นางสาววรนุช ชัยกิตติภรณ์ หัวหน้าสนง.ตรวจบัญชีสหกรณ์ชลบุรี
สินทรัพย์ = หนี้สิน + ทุน
ระบบบัญชี.
Chapter8 การบัญชีและการวิเคราะห์งบการเงิน
กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต พัฒนาการอำเภอเมืองพิจิตร จังหวัดพิจิตร
บทบาทของการบริหารการเงิน (The Role Financial Management)
บทที่ 1 หลักการและหน้าที่ทางการเงิน
การฝึกอบรม โครงการ GFMIS-สคร. ผังบัญชีและความถี่ในการส่งข้อมูล
การเงินธุรกิจ BUSINESS FINANCE
การวิเคราะห์ทางการเงิน (Financial Analysis)
บทที่ 4 การพยากรณ์ทางการเงิน การวางแผนทางการเงิน และงบประมาณ (Financial Forecasting Planning and Budgeting) อ. ม น ช ย า ส ภ า นุ ช า ต.
หน่วยที่ 4 รายการปรับปรุงและงบทดลอง หลังรายการปรับปรุง
สินค้าคงเหลือ.
บัญชีแยกประเภทและผังบัญชี
หน่วยที่ 4 รายการปิดบัญชีและงบการเงินของกิจการอุตสาหกรรม
หน่วยที่ 13 การจัดทำรายงาน.
บทที่ 6 การปิดบัญชี การปิดบัญชีในสมุดรายวันทั่วไป
ลักษณะสำคัญของการซื้อขายล่วงหน้า
การบันทึกรายการในสมุดบัญชีแยกประเภท
เทคนิคการจำแนกหมวดบัญชี
ระบบบัญชีเดี่ยวและสินค้า
ระบบการเรียกเก็บหนี้
FM FM
บทที่ 5 การบริหารลูกหนี้
กรณีศึกษามาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 29 สัญญาเช่า
การบันทึกบัญชีและการจัดทำรายงานการเงิน
หน่วยที่ 3 การบันทึกรายการค้าในสมุดรายวันทั่วไป
จัดทำโดย นายวิทวัสชัย คำยะ นายธนวัฒน์ น้อยมหาพรม
ชื่อกิจการ เจ้าของกิจการ.
สำนักงานตรวจสอบภายใน วันที่ 21 มกราคม 2558
วิชาระบบบัญชีเดี่ยวและสินค้า
Accounts payable system
Creative Accounting
กรณีศึกษาบริษัท ผู้พิทักษ์ความสะอาด จำกัด
บทที่ 3 งบแสดงฐานะการเงินรวม ณ วันซื้อหุ้น
FINANCIAL PLANNING (CASH BUDGET)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 4 งบการเงิน

วัตถุประสงค์ เข้าใจงบการเงินของกิจการว่าประกอบด้วยงบการเงินประเภทใดบ้าง ความสำคัญของงบการเงิน ทราบถึงความหมายและรายการต่างๆ ในงบการเงิน สามารถนำงบทดลองหลังการปรับปรุงแล้วนำไปจัดทำงบการเงินได้

เนื้อหา 1. งบกำไรขาดทุน 2. งบดุล 3. งบแสดงการเปลี่ยนแปลงในส่วนของเจ้าของ

งบการเงิน (Financial Statement) รายการทางการเงิน เพื่อแสดงผลการดำเนินงาน ฐานะการเงิน และรายการทางบัญชีของกิจการ อย่างมีระเบียบแบบแผน ตามมาตรฐานการบัญชีฉบับ 35 กำหนดว่ากิจการจะต้องเสนองบการเงินอย่างน้อยปีละครั้ง

งบการเงิน (Financial Statement) (ต่อ) ตามมาตรฐานการบัญชีฉบับ 35 กำหนดว่ากิจการจะต้องเสนองบการเงินต่อไปนี้ 1. งบกำไรขาดทุน 2. งบดุล 3. งบใดงบหนึ่งดังต่อไปนี้ งบแสดงการเปลี่ยนแปลงในส่วนของเจ้าของ งบกำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ 4. งบกระแสเงินสด 5. นโยบายการบัญชีและหมายเหตุประกอบงบการเงิน

งบกำไรขาดทุน (Financial Statement) แสดงผลการดำเนินงาน (กำไรหรือขาดทุน) ของกิจการในช่วงระยะเวลาหนึ่งๆ ดังนั้นจึงเป็นงบการเงินที่แสดงรายละเอียดเกี่ยวกับรายได้และค่าใช้จ่ายทั้งหมดที่เกิดขึ้นภายในช่วงระยะเวลาเดียวกัน โดยนำมาลบกันเพื่อหาผลกำไรหรือผลขาดทุนนั่นเอง

ธุรกิจบริการ ชื่อกิจการ งบกำไรขาดทุน สำหรับงวด...........สิ้นสุดวันที่ ..................... รายได้ค่าบริการ xx หัก ค่าใช้จ่ายในการดำเนินงาน :- ค่าใช้จ่ายในการขาย xx ค่าใช้จ่ายในการบริหาร xx xx กำไร (ขาดทุน) สุทธิ xx

ธุรกิจซื้อขายสินค้า ยอดขายสุทธิ xx หัก ต้นทุนขาย :- หัก สินค้าสำเร็จรูปปลายงวด xx xx กำไรขั้นต้น xx

หัก ค่าใช้จ่ายในการดำเนินงาน :- ค่าใช้จ่ายในการขาย xx ค่าใช้จ่ายในการบริหาร xx xx กำไรจากการดำเนินงาน xx บวก รายได้อื่น xx หัก ค่าใช้จ่ายอื่น xx กำไรก่อนภาษี xx หัก ภาษีนิติบุคคล xx กำไร (ขาดทุน) สุทธิ xx

งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของเจ้าของ (Statement of Changes Equity) แสดงการเปลี่ยนแปลงในส่วนของเจ้าของกิจการในช่วงระยะเวลาหนึ่ง ดังนั้นจึงเป็นงบการเงินที่แสดงรายละเอียดเกี่ยวกับเงินลงทุนและการแบ่งปันส่วนทุน ยอดคงเหลือกำไร หรือขาดทุนสะสม และการสำรองแต่ละชนิดระหว่างต้นงวดกับปลายงวดของกิจการ

กิจการเจ้าของคนเดียว ชื่อกิจการ งบแสดงการเปลี่ยนแปลงในส่วนของเจ้าของ สำหรับงวด...........สิ้นสุดวันที่ ..................... ทุนต้นปี xx บวก กำไรสุทธิ xx xx หัก ถอนใช้ส่วนตัว xx xx ทุนปลายปี xx

งบดุล (Balance Sheet) แสดงฐานะทางการเงิน (มูลค่าของสินทรัพย์ หนี้สิน และทุน) ณ วันใดวันหนึ่ง ดังนั้นจึงเป็นงบการเงินที่แสดงรายละเอียดเกี่ยวกับสินทรัพย์ หนี้สิน และทุนทั้งหมดของกิจการ

ชื่อกิจการ งบดุล ณ วันที่ ..................... กิจการเจ้าของคนเดียว ชื่อกิจการ งบดุล ณ วันที่ ..................... สินทรัพย์ สินทรัพย์หมุนเวียน :- เงินสด xx ลูกหนี้ xx หัก ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ xx xx รายได้ค้างรับ xx ค่าใช้จ่ายล่วงหน้า xx xx

สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน :- สินทรัพย์ (ต่อ) สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน :- ที่ดิน xx เครื่องตกแต่ง xx หัก ค่าเสื่อมราคาสะสม xx xx อุปกรณ์สำนักงาน xx หัก ค่าเสื่อมราคาสะสม xx xx xx รวมสินทรัพย์ xx

หนี้สินและส่วนของเจ้าของ หนี้สินหมุนเวียน :- เจ้าหนี้ xx รายได้รับล่วงหน้า xx ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย xx xx หนี้สินไม่หมุนเวียน :- เจ้าหนี้เงินกู้ xx ส่วนของเจ้าของ :- ทุนปลายปี xx รวมหนี้สินและส่วนของเจ้าของ xx

THE END