การประยุกต์ ใช้งานมัลติมีเดีย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เกดิษฐ เกิดโภคา วรรณาภรณ์ เทียรท้าว สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยนเรศวร
Advertisements

รายละเอียดวิชา ง การงานพื้นฐาน4(คอมพิวเตอร์2)
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
การงานอาชีพและเทคโนโลยี เรื่อง อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
ใบความรู้ 3 ระบบคอมพิวเตอร์.
ส่วนประกอบหลักและอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ องค์ประกอบพื้นฐานของคอมพิวเตอร์ องค์ประกอบของเครื่องคอมพิวเตอร์ ไม่ว่าจะเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ ขนาดเล็กไปถีงคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ที่มีการทำงาน.
บทเรียนคอมพิวเตอร์แบบมัลติมีเดีย
เทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์
Mr.Ukrit Marang Chapter 1 : Multimedia Mr.Ukrit Marang Multimedia Chapter 1.
ระบบปฏิบัติการ (Operating System : OS )
Chapter 1 Introduction to Information Technology
การเขียน STORYBOARD STORYBOARD.
ระบบคอมพิวเตอร์ (Computer System)
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์.
องค์ประกอบของมัลติมีเดีย
องค์ประกอบและประโยชน์ของมัลติมิเดีย
นายชะเวรินทร์ อินสุวรรณ เลขที่ 12 ม.5/4
มัลติมีเดีย (Multimedia)
การจัดเก็บข้อมูลตามตัวบ่งชี้ สกอ. และ สมศ.
Power Director 4 ครั้งที่ 1/2548 วันพุธที่ 7 กันยายน 2548
ความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
RAM (Random Access Memory)
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
หน่วยความจำ (Memory Unit)
การนำเสนอสื่อประสม.
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ (Personal Computer : PC)
Multimedia และระบบความจริงเสมือน Virtual Reality, VR
Operating System ฉ NASA 4.
Introduction to Multimedia
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
รายวิชา ง40101 เทคโนโลยีสารสนเทศพื้นฐาน
มารู้จักคอมพิวเตอร์กันเถอะ มารู้จักคอมพิวเตอร์กันเถอะ
Chapter 1 Introduction to Information Technology
การประยุกต์ ใช้งานมัลติมีเดีย
การประยุกต์ ใช้งานมัลติมีเดีย
การประยุกต์ ใช้งานมัลติมีเดีย
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการค้นคว้า
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
บทที 1 เริ่มต้น Windows XP
โครงสร้างทรัพยากรสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ โดยหลักการแล้วจะประกอบด้วย 5 ส่วน คือ องค์ประกอบด้านฮาร์ดแวร์ องค์ประกอบด้านซอฟท์แวร์ หน่วยงานหรือตัวบุคคล วิธีการปฏิบัติงาน.
การออกแบบฐานข้อมูลและการบริหารธุรกิจ
ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เรื่องคอมพิวเตอร์ทำงานอย่างไร
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ ครูสุวรรณ์ พิมเสน ครู คศ
ทบทวนการออกแบบสื่อ multimedia Powerpoint Templates.
จัดทำโดย 1. ด. ญ. ศุภรดา จายประมูล เลขที่ ด. ญ. เกสรา อินลม เลขที่ ด. ญ. ณีรนุช สมศักดิ์ เลขที่ 18 ชั้น ม.3/8 ชั้น ม.3/8.
ผู้จัดทำ ด. ช. อดิรุจ อินต๊ะ เลขที่ 14 ด. ช. อดิรุจ ใจปาละ เลขที่ 15 ด. ญ. จินตพร กันทะ เลขที่ 23 ด. ญ. จิราภา สาทร เลขที่ 25 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/6.
เทคโนโลยีสารสนเทศเบื้องต้น
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
อธิบายหลักการทำงาน บทบาท และประโยชน์ของคอมพิวเตอร์
อ. ปริญญา น้อยดอนไพร (V ) เทคโนโลยี มัลติมีเดีย (MULTIMEDIA TECHNOLOGY) บทที่ 2 วิวัฒนาการมัลติมีเดีย.
โรงเรียนสายมิตรเทคโนโคราช
บทที่ การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศ
ระบบคอมพิวเตอร์ ระบบ (System) คือกลุ่มขององค์ประกอบที่มีความสัมพันธ์กันและทำงานร่วมกัน ซึ่งระบบคอมพิวเตอร์จะมีองค์ประกอบที่สำคัญ 3 ส่วน คือ ฮาร์ดแวร์ (Hardware)
เทคโนโลยีมัลติมีเดีย (MULTIMEDIA TECHNOLOGY)
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
ด. ญ. มัญชุพร ตันติประเสริฐ เลขที่ 32 ม 3/6 ด. ญ. ศริลักษณ์ ก๋าพรม เลขที่ 36 ม 3/6 ด. ช. ปุญญธิป โกวฤทธิ์ เลขที่ 9 3/6 ด. ช จักรกฤษ สมศักดิ์ เลขที่ 2 3/6.
เสียง จัดทำโดย 1. เด็กหญิง จุฑาทิพย์ ใจ พนัส เลขที่ เด็กหญิง พัชราวดี กวางแก้ว เลขที่ เด็กหญิง อรวรา ผุด ผ่อง เลขที่ 38.
จัดทำโดย ด.ช.ดนพล ศรีศักดา เลขที่ 2 ด.ช.ธนภัทร เอโปะ เลขที่ 5
การทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
หลักในการเลือกซื้อคอมพิวเตอร์ที่เหมาะสม
Integrated Network Card
ระบบคอมพิวเตอร์ และ การสื่อสาร กนกวรรธน์ เซี่ยงเจ็น สำนักวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร มหาวิทยาลัยนเรศวร วิทยาเขต สารสนเทศพะเยา.
วิชาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติการ รหัสวิชา Computer Technology and Operating System บทที่ 1 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ อ.รจนา วานนท์ Master.
สรูปบทที่ 1 จัดทำโดย ด. ญ. มัญชุพร ตันติประเสริฐ เลขที่ 32 ม 3/6 ด. ญ. ศริลักษณ์ ก๋าพรม เลขที่ 36 ม 3/6 ด. ช. ปุญญธิป โกวฤทธิ์ เลขที่ 9 3/6 ด. ช จักรกฤษ.
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
วิชาเทคโนโลยีมัลติมีเดียสำหรับงานธุรกิจ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การประยุกต์ ใช้งานมัลติมีเดีย ( Multimedia Application )

มัลติมีเดีย (Multimedia) + มัลติ (Multi) มีเดีย (Media) หลาย ๆ อย่าง,ประสม สื่อ , ข่าวสาร

มัลติมีเดีย (Multimedia) ความหมายมัลติมีเดีย การใช้คอมพิวเตอร์สื่อความหมายกับผู้ใช้อย่างมีปฏิสัมพันธ์โดยผสมผสานสื่อต่าง ๆ เข้าด้วยกัน เพื่อวัตถุประสงค์อย่างใดอย่างหนึ่ง

องค์ประกอบของมัลติมีเดีย Multimedia Text Picture Video Sound Interaction

รูปแบบการนำเสนอมัลติมีเดีย แบบเส้นตรง แบบอิสระ แบบวงกลม แบบฐานข้อมูล

รูปแบบการนำเสนอมัลติมีเดีย แบบเส้นตรง แต่ละเฟรมจะเรียงลำดับกันไปอย่างต่อเนื่องตั้งแต่ต้นจนถึงเฟรมสุดท้าย

แบบอิสระ การข้ามไปมาระหว่างเฟรมใดเฟรมหนึ่งมีความอิสระ รูปแบบการนำเสนอมัลติมีเดีย แบบอิสระ การข้ามไปมาระหว่างเฟรมใดเฟรมหนึ่งมีความอิสระ

รูปแบบการนำเสนอมัลติมีเดีย แบบวงกลม เหมาะสำหรับข้อมูลที่สัมพันธ์กันในแต่ละส่วนย่อย ๆ แต่จำแนกออกเป็นหลายหัวข้อ Menu

รูปแบบการนำเสนอมัลติมีเดีย แบบฐานข้อมูล จะใช้หลักการของฐานข้อมูลมาเป็นหลัก โดยใช้ดัชนีเป็นตัวค้นหาข้อมูลที่เกี่ยวข้อง Keyword Text Still Picture Animation Sound

ขอบเขตของมัลติมีเดีย ด้านอุปกรณ์ ด้านระบบ ด้านการประยุกต์ใช้งาน ด้านการเชื่อมโยง

ด้านอุปกรณ์ อุปกรณ์ที่ใช้จัดการและนำเสนอระบบงานมัลติมีเดีย ขอบเขตของมัลติมีเดีย ด้านอุปกรณ์ อุปกรณ์ที่ใช้จัดการและนำเสนอระบบงานมัลติมีเดีย อุปกรณ์ด้านเสียง อุปกรณ์ด้านภาพกราฟฟิก อุปกรณ์ด้านภาพวิดิทัศน์ อุปกรณ์ย่อขยายข้อมูล อุปกรณ์เก็บข้อมูล อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์

ด้านระบบ ระบบสนับสนุนการจัดการและนำเสนอระบบงานมัลติมีเดีย ขอบเขตของมัลติมีเดีย ด้านระบบ ระบบสนับสนุนการจัดการและนำเสนอระบบงานมัลติมีเดีย ระบบฐานข้อมูล ระบบปฏิบัติการของเครื่อง ระบบสื่อสารโทรคมนาคม ระบบเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์

ด้านการประยุกต์ใช้งาน ขอบเขตของมัลติมีเดีย ด้านการประยุกต์ใช้งาน ด้านเอกสาร ด้านการเชื่อมต่อกับผู้ใช้ ด้านการโปรแกรมสรุป ด้านเครื่องมือและการประยุกต์ใช้งาน

ขอบเขตของมัลติมีเดีย ด้านการเชื่อมโยง เชื่อมโยงทั้ง 3 ด้านเข้าด้วยกัน เพื่อให้การจัดการและการนำเสนอระบบงานมัลติมีเดียให้มีความกลมกลืน

ความสัมพันธ์ทั้ง 4 ด้าน ขอบเขตของมัลติมีเดีย ความสัมพันธ์ทั้ง 4 ด้าน ด้านการเชื่อมโยง ด้านอุปกรณ์ ด้านระบบ ด้านการประยุกต์ใช้งาน

ระบบมัลติมีเดีย ประกอบด้วย 3 ส่วน คือ ส่วนของการนำเข้า ส่วนประมวลผล ส่วนแสดงผล ทุกระบบถูกควบคุมด้วยไมโครคอมพิวเตอร์ในการประมวลผลสัญญาณต่าง ๆ ตามวิธีการจัดการของซอฟต์แวร์ที่เลือกใช้

อุปกรณ์ต่อพ่วง อุปกรณ์ต่อพ่วง ระบบมัลติมีเดีย สัญญาณดิจิตอล สัญญาณอนาล็อก สัญญาณเสียง Input Devices อุปกรณ์ต่อพ่วง สัญญาณดิจิตอล สัญญาณอนาล็อก สัญญาณเสียง Output Devices อุปกรณ์ต่อพ่วง Microcomputer

อุปกรณ์ต่อพ่วง สัญญาณดิจิตอล ระบบมัลติมีเดีย อุปกรณ์ต่อพ่วง สัญญาณดิจิตอล Magnetic Storage - การเหนี่ยวนำแม่เหล็ก (I,O) Magnetic Tape - การเหนี่ยวนำแม่เหล็ก (I,O) Scanner - การทำงานของแสง (I) CD-ROM - การทำงานของแสง (I) CD-R - การทำงานของแสง (O) WORM (Write Once Read Many) - การทำงานของแสง (I,O) Digital Camera – การเหนี่ยวนำแม่เหล็ก+แสง (I)

อุปกรณ์ต่อพ่วง สัญญาณอนาล็อก ระบบมัลติมีเดีย อุปกรณ์ต่อพ่วง สัญญาณอนาล็อก Video Camera – กล้องถ่ายภาพวิดิทัศน์ (I) Video Tape – เครื่องบันทึกและเล่นกับภาพวิดิทัศน์ (I) Video Disc Projection TV – เครื่องถ่ายทอดสัญญาณภาพโทรทัศน์ (O)

อุปกรณ์ต่อพ่วง สัญญาณเสียง ระบบมัลติมีเดีย อุปกรณ์ต่อพ่วง สัญญาณเสียง Microphone – ไมโครโฟน (I) CD Audio – เก็บบันทึกและเล่นกลับสัญญาณเสียง (I) MIDI – เครื่องสังเคราะห์ดนตรีอิเล็กทรอนิกส์ (I) Speakers – ลำโพง (O) Headphone – ลำโพงหูฟัง (O)

ส่วนประกอบพื้นฐานของ มัลติมีเดียคอมพิวเตอร์ ไมโครคอมพิวเตอร์ (Microcomputer) เครื่องอ่านซีดีรอม (CD-ROM Drive) แผงวงจรเสียง (Sound Board) ลำโพงภายนอก (External Speaker) ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application Software)

ไมโครคอมพิวเตอร์ (Microcomputer) ส่วนประกอบพื้นฐานของมัลติมีเดียคอมพิวเตอร์ ไมโครคอมพิวเตอร์ (Microcomputer) ต้องเป็นเครื่องที่ใช้ไมโครโพรเซสเซอร์ที่มีความเร็วสัญญาณนาฬิกาความถี่สูง ๆ งานยิ่งมีประสิทธิภาพ รวมทั้งอุปกรณ์ภายใน Microprocessor RAM Graphic Accelerator Board Harddisk

เครื่องอ่านซีดีรอม (CD-ROM Drive) ส่วนประกอบพื้นฐานของมัลติมีเดียคอมพิวเตอร์ เครื่องอ่านซีดีรอม (CD-ROM Drive) เป็นส่วนประกอบที่สำคัญที่ใช้จัดเก็บและนำเสนอสื่อมัลติมีเดีย คุณสมบัติพื้นฐานในการเลือกใช้งาน ความเร็วการเข้าถึงข้อมูลสูง,อัตราการส่งถ่ายข้อมูลสูง CD - ขนาด 5.25” ความจุ 650-800 MB Mini CD - ขนาด 8 cm ความจุ 185 MB DVD (Digital Video Disc) - 17 GB

แผงวงจรเสียง (Sound Board) ส่วนประกอบพื้นฐานของมัลติมีเดียคอมพิวเตอร์ แผงวงจรเสียง (Sound Board) หน้าที่หลักในการเก็บบันทึกเสียงและเล่นเสียงจากโปรแกรมมัลติมีเดีย สามารถบันทึกเสียงจากแหล่งกำเนิดเสียงต่าง ๆ ผ่านไมโครโฟน หรือแหล่งอื่น ๆ แล้วเปลี่ยนเป็นสัญญาณดิจิตอล โมโน - ความถี่ 22.05 kMz สเตอริโอ - ความถี่ 44.10 kMz

ลำโพงภายนอก (External Speakers) ส่วนประกอบพื้นฐานของมัลติมีเดียคอมพิวเตอร์ ลำโพงภายนอก (External Speakers) เป็นส่วนสำคัญที่สนับสนุนให้มัลติมีเดียคอมพิวเตอร์ สามารถเล่นเสียงระดับไฮไฟที่มีคุณภาพได้ ลำโพงเสียงแหลม ลำโพงเสียงกลาง ลำโพงเสียงทุ้ม

ซอฟท์แวร์ประยุกต์ (Application Software) ส่วนประกอบพื้นฐานของมัลติมีเดียคอมพิวเตอร์ ซอฟท์แวร์ประยุกต์ (Application Software) เป็นซอฟต์แวร์ที่ใช้สำหรับจัดการด้านมัลติมีเดียภายใต้ระบบปฏิบัติการซึ่งทำงานสัมพันธ์กับตัวเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ประกอบ การนำเสนอข้อมูลระบบมัลติมีเดีย การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนระบบมัลติมีเดีย

มาตรฐานของ มัลติมีเดียคอมพิวเตอร์ ‘ Multimedia PC Marketing Council ’ ร่างมาตรฐานขั้นต่ำของตัวเครื่องและอุปกรณ์ประกอบที่ใช้งานระบบมัลติมีเดียเพื่อรองรับซอฟต์แวร์ประยุกต์ เรียกว่า ‘Multimedia PC’ ใช้ตัวย่อ ‘MPC’

MPC Level 3 มาตรฐานของมัลติมีเดียคอมพิวเตอร์ Processor: RAM: Pentium 75 MHz สนับสนุนการทำงานวงจร MPEG1 RAM: ขั้นต่ำ 8 MB ควรที่จะเป็น 16 MB ขึ้นไป Floppy Drive: 3.5 นิ้ว ความจุ 1.44 MB Hard Drive: ขั้นต่ำ 540 MB CD-ROM Drive: ความเร็วอย่างต่ำ 550 KB/s หรือ 4X Sound Card: แบบ 8/16 บิต,โมโน 22.05 kHz, สเตอริโอ 44.1 kHz External Speakers: อย่างน้อย 2 ชิ้น ย่านความถี่ 120 Hz – 17.5 kHz Video Playback: ติดตั้ง MPEG1 Card User Input: แป้นพิมพ์ 101 คีย์ , Mouse แบบ 2 ปุ่ม Communication: Fax/Modem V.34 มีความเร็วไม่ต่ำกว่า 28.8 Kbps OS: Microsoft Windows Version 3.11 ขึ้นไป

โลโก้ที่ใช้ ในการรับรองผลิตภัณฑ์ มาตรฐานของมัลติมีเดียคอมพิวเตอร์ โลโก้ที่ใช้ ในการรับรองผลิตภัณฑ์

เทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับ มัลติมีเดีย ระบบมัลติมีเดีย ไม่ใช่เทคโนโลยีเดี่ยว ๆ แต่รวมเอาเทคโนโลยีหลายหลายเข้าด้วยกับ เพื่อให้เกิดความสมบูรณ์ในการทำงานและผสมผสานกันอย่างกลมกลืนทั้ง ข้อความ, ภาพ , เสียง และ การปฏิสัมพันธ์

เทคโนโลยี มัลติมีเดีย เทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับมัลติมีเดีย เทคโนโลยี ไมโครคอมพิวเตอร์ เทคนิคและวิธีการ นำเสนอข้อมูล เทคโนโลยีจอภาพ เทคโนโลยี มัลติมีเดีย เทคโนโลยี ซอฟท์แวร์ เทคโนโลยีอุปกรณ์นำเข้า และแสดงผลข้อมูล เทคโนโลยี คอมพิวเตอร์เครือข่าย เทคโนโลยี ในการเก็บบันทึกข้อมูล เทคโนโลยี ในการย่อขนาดข้อมูล

THE END

แบบฝึกหัด ‘มัลติมีเดีย’ ‘การเรียนการสอน’ จงวิเคราะห์ว่า... เพราะเหตุใด จึงมีบทบาทสำคัญต่อ ‘การเรียนการสอน’ ในยุคปัจจุบัน