ตลาดและการแข่งขัน.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เศรษฐศาสตร์แรงงาน (ศ. 471) อุปสงค์แรงงาน
Advertisements

รองศาสตราจารย์ ดร. ภาวดี ทองอุไทย สิงหาคม 2552
บทที่ 1 ลักษณะของระบบบัญชี
บทที่ 4 การร่วมค้า การร่วมค้า หมายถึง การประกอบกิจกรรมเชิงเศรษฐกิจ
รหัส หลักการตลาด.
New Trade Theory ดร.วิธาดา อนกูลวรรธกะ
Product and Price ครั้งที่ 8.
Product and Price ครั้งที่ 12.
เศรษฐกิจในชีวิตประจำวัน
รายได้และรายจ่ายของตนเองและครอบครัว
กลไกราคา การเกิดกลไกราคา คือ ตัวกำหนดราคาสินค้าว่าจะถูกหรือแพง
เศรษฐศาสตร์จุลภาคเป็นการศึกษาพฤติกรรม (behavior) ของหน่วยเศรษฐกิจแต่ละประเภท (individual economic units) ได้แก่ • ผู้บริโภค • แรงงาน • เจ้าของธุรกิจ.
อุปทานของแรงงานในระดับบุคคล
Revision Problems.
ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy
บทที่ 1 Introduction เศรษฐศาสตร์จุลภาค คืออะไร
บทที่ 7 การวิเคราะห์ราคา สินค้าเกษตรและอาหาร
บทที่ 9 การแข่งขันในตลาดสินค้าเกษตรและอาหาร
ระบบการตลาดและ หน้าที่ทางการตลาด
บทที่ 7 การกำหนดราคาสินค้าในตลาด
เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
สื่อการเรียนรู้ การตัดสินใจในการผลิต
สื่อประกอบการเรียนการสอน
บทที่ 8 การกำหนดราคาและผลผลิตในตลาดแข่งขันสมบูรณ์ (Price and Output Determination Under Perfect Competition) ความหมายของตลาด ลักษณะของตลาดแข่งขันสมบูรณ์
บทที่ 9 การกำหนดราคาและผลผลิตในตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์ (Price and Output Determination Under Imperfect Competition) ตลาดผูกขาดที่แท้จริง ลักษณะของตลาดผูกขาดแท้จริง.
ธุรกิจในโลกาภิวัตน์ Globalizing Business.
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับพฤติกรรมผู้ใช้
บรรยายองค์ความรู้เรื่อง AEC สมาคมอาเซียน
Economic Institute เพื่อสนองความต้องการของตนเองทั้งทางด้านร่างกายและจิตใจ กระบวนการการแสวงหาอาหาร การผลิตอาหาร การบริโภคต่างๆ.
FTA และผลกระทบต่อภาษีสรรพสามิต
ขับเคลื่อนนวัตกรรม ด้วยการเข้าใจตลาดและผู้ใช้
Computer Application in Customer Relationship Management
 2005 Thailand Securities Institute (TSI), The Stock Exchange of Thailand 1.
หลักการของทุนนิยม กำไร สูงสุด ราคาขายแพงสุด ต้นทุนต่ำสุด - ผูกขาดกีดกัน คู่แข่ง - ค่าแรงต่ำสุด - ภาษีต่ำสุด - ค่าเช่า ต่ำสุด.
ลักษณะของรายงาน 1. คำนำ 2. สารบัญ 3. เนื้อหาที่รายงาน
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ( ASEAN Economic Community: AEC )
บทที่ 4 โครงสร้างตลาดและการกำหนดราคา
4.3 ความล้มเหลวของตลาด (Market Failure)
บทที่ 4 โครงสร้างตลาดและการกำหนดราคา
สื่อโฆษณาเพื่อส่งเสริมการขาย
โครงสร้างของตลาดและการกำหนดราคา
ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ส 41102
กระบวนการทางเศรษฐกิจ
ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทนปัจจัยการผลิต (ค่าเช่า, ดอกเบี้ย, ค้าจ้าง ,กำไร) ปัจจัยการผลิต (ที่ดิน, ทุน, แรงงาน, ผู้ประกอบการ)
วิชาธุรกิจและการเป็นผู้ประกอบการ สัปดาห์ที่ 1
ทรัพยากรในทางเศรษฐศาสตร์
ต้นทุนการผลิต.
รหัส หนังสือหมวดวิชาชีพพื้นฐาน หลักเศรษฐศาสตร์
ส่งเสริมการขาย เกมกลยุทธ์
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
บทบาทของข้อมูลการตลาด
หน่วยที่ 3 ประเภทแหล่งข้อมูลทางการตลาด
พฤติกรรมผู้ซื้อองค์การ
ตลาด ( MARKET ).
พฤติกรรมผู้บริโภค (CONSUMER BEHAVIOR)
บทที่ 7 การพยากรณ์ยอดขาย.
ความสำคัญและประโยชน์ ของการวิจัยการตลาด
บทที่ 3 การตลาด ความหมายของการตลาด
หน่วยที่1 ข้อมูลทางการตลาด
หน้าที่ทางการตลาด Marketing Function
วิชา หลักการตลาด บทที่ 5
บทที่ 1 บทนำ SIRIPONR SOMKHUMPA.
ความเชื่อมั่น ความดูดีในอีก ระดับ ความเป็นผู้นำ ความแตกต่างที่ เป็นจุดเด่น การบ่งบอกถึง คุณภาพ.
ตลาดกึ่งแข่งขันกึ่งผูกขาด
ผู้สอน ครูศรีวรรณ ปานสง่า
ตลาดผูกขาด ( MONOPOLY )
เรียนรู้ร่วมกันเป็นทีม
บทที่ 5 ภาวะการเงิน.
ดุลยภาพของตลาด (Market Equilibrium)
บทที่ 7 การกำหนดราคาสินค้าในตลาด
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ตลาดและการแข่งขัน

ตลาด (Market) กิจกรรมการตกลงซื้อขายสินค้าและบริการรวมทั้งปัจจัยการผลิต ไม่ได้หมายถึง “สถานที่”

ประเภทของตลาดในทางเศรษฐศาสตร์ ตลาดแข่งขันสมบูรณ์ (Perfect Competitive Market) ตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์ (Imperfect Competitive Market)

2.1 ตลาดผูกขาด (Monopoly) 2.2 ตลาดผู้ขายน้อยราย (Oligopoly) 2.3 ตลาดกึ่งแข่งขันกึ่งผูกขาด (Monopolistic Competition) 2. ตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์

ตลาดแข่งขันสมบูรณ์ (Perfectly Competitive Market) ลักษณะสำคัญ มีผู้ซื้อและผู้ขายจำนวนมาก สินค้าที่ซื้อขายกันในตลาดมีลักษณะเหมือนกันทุกประการ (Homogeneous Product) ผู้ขายเข้าและออกจากกิจการได้อย่างเสรี (Freedom of entry or exit)

ลักษณะสำคัญ (ต่อ) สินค้าสามารถโยกย้ายได้อย่างเสรี (Free mobility) ผู้ซื้อและผู้ขายมีความรอบรู้เกี่ยวกับสภาพของตลาดได้เป็นอย่างดี (Perfect knowledge)

ตลาดผูกขาด (Pure Monopoly) ลักษณะสำคัญ มีผู้ผลิตหรือผู้ขายรายเดียว เรียกว่า “ผู้ผูกขาด” (Monopolist) สินค้ามีลักษณะพิเศษไม่เหมือนใคร ไม่สามารถหาสินค้าอื่นมาทดแทนได้อย่างใกล้เคียง

ลักษณะสำคัญ (ต่อ) ผู้ผูกขาดมีอำนาจในการกำหนดราคา (Price Maker) ผู้ผูกขาดสามารถกีดกันไม่ให้ผู้อื่นเข้ามาผลิตแข่งขันได้

สาเหตุของการผูกขาด ผู้ผลิตหลายรายรวมตัวกันผูกขาดการผลิต รัฐออกกฏหมายให้ผูกขาดการผลิตแต่ผู้เดียว เพื่อให้เกิดประโยชน์แก่เศรษฐกิจและสังคมส่วนรวม

สาเหตุของการผูกขาด (ต่อ) เป็นการผลิตที่ต้องใช้ทุนจำนวนมาก และต้องมีขนาดการผลิตที่ใหญ่ เพื่อจะได้รับประโยชน์จากการประหยัดของขนาดการผลิต การเป็นเจ้าของวัตถุดิบแต่ผู้เดียว การจดทะเบียนลิขสิทธิ์ตามกฏหมาย

ตลาดผู้ขายน้อยราย (Oligopoly) ลักษณะสำคัญ มีผู้ขายจำนวนน้อย และผู้ขายเหล่านี้อาจรวมตัวในการกำหนดราคาสินค้า ผู้ขายแต่ละรายมีส่วนแบ่งตลาด (Market share) มาก แต่อำนาจในการกำหนดราคาหรือปริมาณขายของผู้ขายแต่ละรายมีน้อยกว่าตลาดผูกขาด

ลักษณะสำคัญ (ต่อ) สินค้าที่ซื้อขายในตลาดมีลักษณะคล้ายคลึงกัน แต่ไม่เหมือนกัน ดังนั้นการกำหนดราคาสินค้าของผู้ขายแต่ละรายจะมีผลกระทบผู้ขายรายอื่น ผู้ขายมักจะไม่ลดราคาแข่งขันกัน เพราะการแข่งขันลดราคาสินค้าจะทำลายผลประโยชน์ของผู้ผลิตทุกคน

สาเหตุที่ไม่มีการแข่งขันกันด้านราคา การลดราคาจะทำให้ผู้ผลิตรายอื่นลดราคาตามได้ง่าย ทำให้ปริมาณขายไม่เพิ่มมากขึ้นตามที่คาดการณ์ การใช้วิธีการปรับปรุงคุณภาพสินค้าและบริการเป็นวิธีที่จะทำตามได้ยากและใช้เวลานาน ผู้ผลิตในตลาดนี้มักมีเงินทุนมากจึงสามารถที่จะลงทุนโฆษณาและพัฒนาคุณภาพสินค้าได้ดี

ตลาดกึ่งแข่งขันกึ่งผูกขาด (Monopolistic Competition) ลักษณะสำคัญ มีผู้ขายจำนวนมาก ไม่มีการกีดกันผู้ที่จะเข้ามาใหม่

ลักษณะสำคัญ (ต่อ) สินค้าของผู้ผลิตมีความแตกต่างกัน โดยอาจแตกต่างกันโดยรูปลักษณ์ของตัวสินค้า หรือการแตกต่างกันในความรู้สึกของผู้บริโภค ซึ่งเป็นผลจากการโฆษณา การบรรจุหีบห่อ การบริการ ฯลฯ รวมไปถึงคุณภาพของสินค้าด้วย