บทที่ 5 การจัดหาเงินทุนระยะสั้นและระยะปานกลาง Short- Term and Intermediate-Term Financing.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
แนะนำกองทุนรวมจากบริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุนรวมชั้นนำ
Advertisements

สหกรณ์ออมทรัพย์ โรงพยาบาลพระศรีมหาโพธิ์ อุบล จำกัด
ทิศทางการดำเนินงานกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา
ค่าของทุน The Cost of Capital
บทที่ 1 ลักษณะของระบบบัญชี
บทที่ 1 เรื่อง การฝากขาย Chollada Advance I : Consign.
การขายผ่อนชำระและการเช่าซื้อ
บทที่ 4 การร่วมค้า การร่วมค้า หมายถึง การประกอบกิจกรรมเชิงเศรษฐกิจ
บทที่ 8 โครงสร้างเงินทุน
การจัดการเงินทุนหมุนเวียน
บทที่ 7 ตลาดการเงินและสถาบันการเงิน
สำนักวิชาบัญชี มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย
สินทรัพย์หมุนเวียน-สินค้า เงินสด+หลักทรัพย์+ลูกหนี้
การดำเนินการ เพื่อกำหนดเป็นมาตรฐานให้บริษัทจัดการสามารถดำเนินธุรกิจในการจัดการกองทุนของตนด้วยความโปร่งใส และคำนึงถึงประโยชน์ของผู้ลงทุนเป็นสำคัญ สำนักงานได้ออกประกาศที่
สถานการณ์การเงินที่อยู่อาศัย
งบประมาณ และ กลยุทธ์ทางด้านการเงิน ธนชัย ผู้พัฒน์
Statement of Cash Flows
การเปิดเผยข้อมูลและ นโยบายการบัญชี
ลูกค้า ธนาคาร เจ้าของธุรกิจ ผู้ผลิต กรมสรรพกร ข้อมูล ดอกเบี้ย
บทที่ 7 การบัญชีเกี่ยวกับการจัดซื้อ และการควบคุมสินค้าคงเหลือ
บทที่ 4 งบการเงิน.
นางสาววรนุช ชัยกิตติภรณ์ หัวหน้าสนง.ตรวจบัญชีสหกรณ์ชลบุรี
สินทรัพย์ = หนี้สิน + ทุน
หน้าที่ของสมาชิกสหกรณ์
การตรวจสอบธุรกิจสินเชื่อ
กลุ่ม 2 ข้อ 4. ปัญหา สาเหตุ แนวทางป้องกัน แนวทางแก้ไข
1 ประกาศเรื่อง การลงทุนและ การมีไว้เพื่อเป็นทรัพย์สินของ กองทุน.
การชำระเงินทางการค้าต่างประเทศ
ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
บทบาทของการบริหารการเงิน (The Role Financial Management)
บทที่ 1 หลักการและหน้าที่ทางการเงิน
ความซับซ้อน Complexity Index
ประกาศคณะกรรมการบริหารกองทุนความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทำงาน เรื่อง หลักเกณฑ์และเงื่อนไขในการให้กู้ยืมเงินกองทุนความปลอดภัย อาชีวอนามัย.
การเงินธุรกิจ BUSINESS FINANCE
การบริหารเงินทุนหมุนเวียน
การวิเคราะห์ทางการเงิน (Financial Analysis)
บทที่ 2 การจัดหาเงินทุน (Financing)
บทที่ 4 การพยากรณ์ทางการเงิน การวางแผนทางการเงิน และงบประมาณ (Financial Forecasting Planning and Budgeting) อ. ม น ช ย า ส ภ า นุ ช า ต.
บทที่ 7 เงินสดและหลักทรัพย์ตามความต้องการของตลาด (Cash and Marketable Securities Management) อ. ม น ช ย า ส ภ า นุ ช า ต.
บทที่ 12 นโยบายเงินปันผล ( Dividend Policy )
หนี้สาธารณะของรัฐบาลไทย
สินค้าคงเหลือ.
บัญชีแยกประเภทและผังบัญชี
การใช้ CAPM ประมาณการต้นทุนของเงินทุน
โครงสร้างของเงินทุนและการใช้ Leverage
การบันทึกรายการในสมุดบัญชีแยกประเภท
แนวทางการมีส่วนร่วมของกรมฯ การปฏิบัติของจังหวัด
เทคนิคการจำแนกหมวดบัญชี
บทที่ 13 การบริการลูกค้าในการค้าปลีก
การบริหารและลดความเสี่ยงด้านการเงิน
ระบบบัญชีเดี่ยวและสินค้า
มีการดำเนินงานหลัก ๆ อยู่ 2 ประการ คือ
แนวทางเข้าถึงแหล่งเงินทุน
2.3 การเสนอตัวอย่างการคำนวณเบี้ยประกัน
ระเบียบว่าด้วยการให้เงินกู้แก่สมาชิก
กรณีศึกษามาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 29 สัญญาเช่า
ดุลการชำระเงิน Balance of payment
ชี้แจงแนวทาง การช่วยเหลือเกษตรกรผู้ปลูกข้าว ในฤดูการผลิต ปี 2557/58
หัวข้อการบรรยาย การวางแผนทางการเงินอย่างมีประสิทธิภาพ
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
หน่วยที่ 3 การบันทึกรายการค้าในสมุดรายวันทั่วไป
ผู้อำนวยการกลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 1
มติ คปก. 3/2549 วันที่ 29 กันยายน 2549
หน้าที่ทางการตลาด Marketing Function
Creative Accounting
บทที่ 3 งบแสดงฐานะการเงินรวม ณ วันซื้อหุ้น
FINANCIAL PLANNING (CASH BUDGET)
บทที่ 5 ภาวะการเงิน.
บทที่ 4 ปริมาณเงินในระบบเศรษฐกิจ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 5 การจัดหาเงินทุนระยะสั้นและระยะปานกลาง Short- Term and Intermediate-Term Financing

ตลาดการเงิน(Financial market) เป็นตลาดที่ทำให้เกิดช่องทางการเคลื่อนย้ายเงินออมของผู้ออม (Saving sector) ซึ่งมีเงินเกินความต้องการไปสู่ภาคธุรกิจหรือผู้ลงทุน (Investing sector) ซึ่งมีเงินไม่พอกับความต้องการ

ตลาดการเงิน (Financial market) แบ่งออกเป็น 1. ตลาดเงิน (Money market) 2. ตลาดทุน (Capital market)

ตลาดทุนแบ่งออกเป็น 2.1 ตลาดแรก (Primary market) 2.2 ตลาดรอง (Secondary market)

2.2 ตลาดรอง (Secondary market) เป็นตลาดซื้อขายหลักทรัพย์ที่เคยผ่านการซื้อขายในตลาดแรกมาแล้ว เป็นตลาดที่ทำให้หลักทรัพย์มีการเปลี่ยนมือ เงินทุนก็จะหมุนเวียนระหว่างนักลงทุนด้วยกัน บริษัทผู้ออกหลักทรัพย์ไม่ได้รับเงินทุน

ตลาดเงิน ตลาดทุน ตลาดแรก ตลาดรอง ตลาดการเงิน ตลาดเงิน ตลาดทุน ตลาดแรก ตลาดรอง ตลาด ทางการ ตลาดไม่เป็น ทางการ

การจัดหาเงินทุนแบ่งออกได้เป็น 3 ลักษณะ ตามระยะเวลาของการชำระคืน 1. การจัดหาเงินทุนระยะสั้น (Short term Financing) หมายถึงการจัดหาเงินทุนที่มีกำหนดชำระคืนเงินต้น และดอกเบี้ยภายในระยะเวลา 1 ปี 2. การจัดหาเงินทุนระยะปานกลาง (Intermediate Term Financing) หมายถึงการจัดหาเงินทุนที่มีกำหนดชำระคืนเงินต้นและดอกเบี้ยภายในระยะเวลา 3–5 ปี 3. การจัดหาเงินทุนระยะยาว (Long Term Financing) หมายถึงการจัดหาเงินทุนที่มีกำหนดชำระคืนเงินต้น และดอกเบี้ยภายในระยะเวลาตั้งแต่ 5 ปีขึ้นไป.

การจัดหาเงินทุนระยะสั้น ธุรกิจสามารถจัดหาได้จาก การจัดหาเงินทุนระยะสั้น ธุรกิจสามารถจัดหาได้จาก 1. สินเชื่อทางการค้า (Trade Credit) 2. ตราสารพาณิชย์ (Commercial Paper) 3. เงินกู้ระยะสั้น (Short Term Loan).

2. ตราสารพาณิชย์ (Commercial Paper) เป็นการจัดหาเงินทุนระยะสั้นที่ไม่มีหลักประกัน ดังนั้นธุรกิจที่จะจัดหาเงินทุนโดยการออกตราสารพาณิชย์ได้จะต้องเป็น ธุรกิจขนาดใหญ่ ชื่อเสียงดี มีฐานะทางการเงินดี } น่าเชื่อถือ

3. เงินกู้ระยะสั้น แบ่งออกได้เป็น 2 ประเภท คือ 3.1 เงินกู้ระยะสั้นที่ไม่มีหลักทรัพย์ค้ำประกัน (Unsecured Short Term Financing) 3.2 เงินกู้ระยะสั้นที่มีหลักทรัพย์ค้ำประกัน (Secured Short term Financing).

3.1 เงินกู้ระยะสั้นที่ไม่มีหลักทรัพย์ค้ำประกัน เป็นการจัดหาเงินทุนที่มีกำหนดชำระคืนภายใน ระยะเวลา 1 ปี โดยไม่ต้องมีหลักทรัพย์ค้ำประกัน แบ่งออกเป็น 3 ประเภทคือ 1. การกู้ยืมในวงเงินที่กำหนด (Line of Credit) 2. การกู้ยืมชนิดหมุนเวียน (Revolving Credit) 3. เงินกู้เฉพาะกรณี (Transaction Loans)

3.2 เงินกู้ระยะสั้นที่มีหลักทรัพย์ค้ำประกัน 3.2 เงินกู้ระยะสั้นที่มีหลักทรัพย์ค้ำประกัน เป็นการจัดหาเงินทุนระยะสั้น โดยมีหลักทรัพย์ ค้ำประกัน ซึ่งแบ่งออกได้เป็น 2 ประเภท คือ 1. การกู้โดยใช้บัญชีลูกหนี้การค้า (Account Receivable Loans) 2. การกู้โดยใช้สินค้าคงเหลือ ( Inventory Loans)

1. การกู้โดยใช้บัญชีลูกหนี้การค้า (Account Receivable Loans) ใช้บัญชีลูกหนี้การค้าในการกู้ นำเงินที่ได้รับจากการกู้นั้นเป็นเงินทุนหมุนเวียนของกิจการ โดยเงินกู้นี้มีกำหนดชำระคืนภายใน 1 ปี แบ่งออกได้เป็น 2 แบบ คือ ก. การนำบัญชีลูกหนี้การค้าไปค้ำประกัน (Assignment of Account Receivable) ข. การนำบัญชีลูกหนี้การค้าไปขาย (Factoring of Account Receivable ).

2. การกู้โดยใช้สินค้าคงเหลือ (Inventory Loans) ใช้สินค้าคงเหลือของตนไปเป็นหลักทรัพย์ค้ำประกันเงินกู้ นำเงินที่ได้รับจากการกู้นั้นเป็นเงินทุนหมุนเวียนของกิจการ กำหนดชำระคืนภายใน 1 ปี แบ่งออกเป็น 4 ประเภทคือ ก. Floating Lien ข. Trust Receipt Loans ค. Terminal Warehouse Receipt Loan ง. Field Warehouse Receipt Loans.

การจัดหาเงินทุนระยะปานกลาง เป็นการจัดหาเงินทุนที่มีกำหนดชำระคืนเงินต้นและดอกเบี้ยภายในระยะเวลา 3-5 ปี

ธุรกิจสามารถจัดหาเงินทุนระยะปานกลางได้จาก 1. เงินกู้ระยะปานกลาง (Term Loans) 2. การจัดหาเงินทุนโดยการเช่าสินทรัพย์ (Lease Financing)

2. การจัดหาเงินทุนโดยการเช่าสินทรัพย์ (Lease Financing) เป็นการจัดหาเงินทุนระยะปานกลางวิธีหนึ่ง ลักษณะการเช่าสินทรัพย์ ผู้ให้เช่า (Lessor )เป็นเจ้าของสินทรัพย์ ผู้เช่า (Lessee )เป็น ผู้ใช้ประโยชน์จากสินทรัพย์ --> โดยจะจ่ายค่าเช่าเป็นงวด ๆ

การเช่าสินทรัพย์แบ่งออกได้เป็น 2 ลักษณะ คือ ก) Operating Lease ข) Financial Lease

ข้อดีของการเช่าสินทรัพย์ 1. การเช่าทำให้ธุรกิจได้รับเงินทุนเต็มจำนวน 2. การเช่าไม่มีข้อบังคับหรือเงื่อนไขมาก 3. การเช่าช่วยเพิ่มสภาพคล่องให้กับธุรกิจ 4. การเช่ามีประโยชน์ทางด้านบัญชี

ข้อเสียของการเช่าสินทรัพย์ 1. ต้นทุนของการเช่าสูง 2. การเช่าจะมีปัญหาในเรื่องการปรับปรุงสินทรัพย์ 3. การเช่าจะมีปัญหาในเรื่องการล้าสมัยในกรณี ที่เป็นสัญญาเช่าลักษณะ Financial Lease