รูปแบบ Story Board อย่างง่าย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
แนะนำการใช้งานระบบ คลิก เข้าเรียน
Advertisements

วิธีการเรียนบทเรียนมัลติมีเดีย Great Wall Chinese
ระบบจัดการคลังข้อสอบส่วนกลาง
แบบทดสอบวิชาคอมพิวเตอร์
บทเรียนคอมพิวเตอร์แบบมัลติมีเดีย
นักศึกษาทุกคน วิชา การประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์ทางการแพทย์
Bai Chak Group ภูมิใจเสนอ.
หลักสูตร eLearning สำหรับ มทรก เม.ย.09
รายละเอียดของการทำ Logbook
1 ข้อแนะนำในการสร้าง Web โครงการ โดย ดร. วรินทร์ สุวรรณวิสูตร อาจารย์ผู้ประสานงานวิชาโครงการ.
ก่อนเข้าสู่ระบบสมาชิก • ไม่แสดงรายละเอียดของสมาชิก • ไม่สามารถใช้บริการ • ไม่สามารถใช้บริการ • ไม่สามารถร่วมสนุกกับกิจกรรมพิเศษ.
ขั้นตอนการออกแบบมัลติมีเดีย Multimedia Design Step
เรื่อง การรวบรวมข้อมูล คลิกเลือกหัวข้อตามที่ต้องการได้เลยค่ะ
แผนการสอน วิชา Database Design and Development
1 ข้อแนะนำในการสร้าง Web โครงการ ดร. วรินทร์ สุวรรณวิสูตร ( ไม่ยืนยันว่าครบถ้วนตามหลักวิชาการ )
รายละเอียดของการทำ Logbook
หลักการจัดทำสตอรี่บอร์ดสื่อมัลติมีเดีย
ตัวอย่าง STORYBOARD ภาพรวม
หลักการออกแบบของ ADDIE model ADDIE model
แผนการเรียนรู้ เรื่อง การจัดองค์ประกอบของการถ่ายภาพ
ท่องเที่ยวจังหวัดระนอง
สาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี
การเขียนขยายเค้าโครงเอกสารแต่ละบท ให้มีเนื้อหาสมบูรณ์
รูปแบบของเว็บเพจ. รูปแบบของเว็บเพจ รูปแบบของเว็บเพจ 1. เว็บเพจในแนวตั้ง.
Management Information Systems
คอมพิวเตอร์ช่วยสอน ประเภทติวเตอร์ Tutorial.
การใช้โปรแกรมประยุกต์ ด้านการนำเสนองาน
แบบประเมินหลังเรียน แบบประเมินก่อนเรียน Part 5.
บทที่ 6 การจัดการกับความเครียด
แบบประเมินก่อนเรียน แบบประเมินก่อนเรียน Part 14.
เนื้อหาพิเศษ :การชักจูงโน้มน้าว
ชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น
สาชาวิชาการวัด ประเมิน และวิจัยทางการศึกษา
คู่มือการใช้การเขียนเรียงความ โดยใช้โปรแกรม PowerPoint
Waterfall model แบบจำลองน้ำตก
การวิเคราะห์ข้อสอบ ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข
การแปลงข้อมูลใน Excel เป็นฐานข้อมูลใน Access
การสร้างข้อสอบ ตามแนวการวัดใน PISA
การบริหารการผลิต 7 มิถุนายน 2556.
ทำแบบทดสอบและหาที่เรียนในต่างประเทศ
Computer Seminar (310492) สัมมนาทางคอมพิวเตอร์
ทบทวนการออกแบบสื่อ multimedia Powerpoint Templates.
การวิเคราะห์เนื้อหา.
การรับการประเมินด้วย แบบทดสอบออนไลน์ เริ่มเข้าสู่หน้าหลักของเว็บเพจรายวิชา.
Introduction to Business Information System MGT 3202
ที่หน้าเพจระบบการเรียนรายวิชา ง ๔๐๒๐๔ เลือก ระบบการลงทะเบียนฯ.
โรงเรียนบ้านทุ่งหงาว
( รูปเรขาคณิตสามมิติ )
คอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง การบวกเลขไม่เกิน 2 หลัก
ชั้นอนุบาล1 โรงเรียนบ้านควนไทรงาม
คอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง จำนวนเฉพาะ
คอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่องการบวกเลข2หลัก
การออกแบบการเรียนรู้
เทคนิคการรวบรวมข้อมูล
ทบทวนความรู้เดิม (Activate Prior Knowledge)
LOGO สื่อการเรียนการสอน เรื่อง Learning C Programming โดย อาจารย์สุพัตรา ชุมประเสริฐ วิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ.
การสอนโดยใช้บทเรียนโปรแกรม
การฝึกงาน รายวิชาในกลุ่มวิชาเอกบังคับของหลักสูตรระดับปริญญาตรี คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มหาวิทยาลัยพะเยา การฝึกปฏิบัติงานจริง จะทำให้นิสิตได้มีโอกาสเรียนรู้ประสบการณ์
ความหมาย รูปแบบหนึ่งของบทเรียน คอมพิวเตอร์ช่วยสอนซึ่ง มีการออกแบบบทเรียน โดยมีเป้าหมายที่จะเสนอ ข้อคำถามในรูปแบบต่าง ๆเพื่อให้ผู้เรียนฝึกปฏิบัติ
บทเรียนสำเร็จรูป ท่องเที่ยวเมืองระนอง โดยนางสาวเพ็ญ พิศ พันธุ์ธร เข้าสู่บทเรียน.
การสร้างสื่ออิเล็กทรอนิกส์ด้วยโปรแกรม CONTERT AUTHORING
เรื่อง การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน วิชาการใช้โปรแกรมกราฟิก
การพัฒนาการเรียนรู้รายวิชาการโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้วย e-Learning
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนบ้านกำพวน
การออกแบบสื่อเพื่อการศึกษา ADDIE Model
บทที่ 5 การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
ระบบการบันทึกข้อมูลและขอชดเชยการรักษาของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพส่วนตำบล กองทุนสวัสดิการพนักงานส่วนท้องถิ่น.
บทเรียน สำเร็จรูป ท่องเที่ยวจังหวัด ระนอง โดย ครูสุธิรา ทรัพย์เลิศทวี เข้าสู่บทเรียน.
บทเรียนสำเร็จรูป ท่องเที่ยวจังหวัด ระนอง โดย ครูมัณทนา ดาว สุวรรณ เข้าสู่บทเรียน.
คอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง การบวกเลขไม่เกิน 2 หลัก ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนสุขสำราญราษฎร์รังสรรค์ เข้าสู่บทเรียน.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

รูปแบบ Story Board อย่างง่าย หน้าแรกของบทเรียน 1. ตรามหาวิทยาลัย 2. หัวเรื่อง(ให้มีการเคลื่อนไหว) 3. คำอธิบายเกี่ยวกับบทเรียน (แผนบริหารประจำวิชา) 4. เข้าสู่บทเรียน(บทที่ 1-5) 5. ข้อมูลเกี่ยวกับผู้สอน 6. เอกสารอ้างอิง 7. ออกจากโปรแกรม 8. ภาพประกอบบทเรียน(เคลื่อนไหว ให้มีความน่าสนใจ) 9.พื้นหลังให้ใช้สีโทนสว่างอ่อน ๆ 1 2 8 3 4 5 6 7 9 เป็นการนำเสนอแบบง่าย ๆ เพื่อให้ผู้พัฒนาโปรแกรมได้วางแผนได้ถูกต้อง ในส่วนรายละเอียดของเนื้อหานั้นมีความจำเป็น อย่างมากที่ผู้พัฒนาโปรแกรมและผู้สอนต้องมีการสื่อสารระหว่างกัน จึงจะได้บทเรียนที่สมบูรณ์

รูปแบบ Story Board อย่างง่าย หน้าแรกของบทเรียน(บทที่ 1) 1 1. ตรามหาวิทยาลัย 2. หัวเรื่อง(บทที่ 1) 3. คำอธิบายเกี่ยวกับบทเรียน (แผนบริหารประจำบท) 4. แบบทดสอบก่อนเรียน 5. เนื้อหาบทเรียน 6. แบบทดสอบหลังเรียน 7. เอกสารอ้างอิงประจำบท 8. กลับเมนู(หน้าหลัก) 9. ภาพประกอบบทเรียน(เคลื่อนไหว ให้มีความน่าสนใจ) 10.พื้นหลังให้ใช้สีโทนสว่างอ่อน ๆ 2 3 9 4 5 6 7 8 10

หน้าบทเรียน (เนื้อหาทั้งหมดของบทที่ 1) รูปแบบ Story Board อย่างง่าย หน้าบทเรียน (เนื้อหาทั้งหมดของบทที่ 1) 1 1. ตรามหาวิทยาลัย 2. หัวเรื่อง(บทที่ 1) 3.-7 หัวข้อย่อยของบทเรียน 8. กลับเมนู(หน้าหลักของบทเรียน) 9. เนื้อหาของบทเรียนทั้งหมด มีภาพประกอบบทเรียน(เคลื่อนไหว ให้มีความน่าสนใจ) 10.พื้นหลังให้ใช้สีโทนสว่างอ่อน ๆ 2 9 3 4 5 6 7 8 10

หน้าบทเรียน (เนื้อหาย่อยในบทเรียน) รูปแบบ Story Board อย่างง่าย หน้าบทเรียน (เนื้อหาย่อยในบทเรียน) 1 1. ตรามหาวิทยาลัย 2. หัวเรื่อง(บทที่ 1) 3. เนื้อหาบทเรียน 4. ปุ่มควบคุมการเปิด/ปิดเสียง 5-6 ปุ่มควบคุมการเดนหน้าและ ย้อนกลับบทเรียน 7. ออกจากบทเรียน(กลับหน้าหลัก) 2 3 4 5 6 7

ไม่เกิน 1 นาที ข้อสอบแต่ละข้อต้องมีการสลับตัวเลือกทุกครั้งที่เข้าทดสอบ รูปแบบ Story Board อย่างง่าย หน้าแรก แบบทดสอบก่อนเรียน 1 1. ตรามหาวิทยาลัย 2. หัวเรื่อง(แบบทดสอบก่อนเรียน) 3. คำอธิบายเกี่ยวกับแบบทดสอบ ก่อนเรียน 4. เริ่มแบบทดสอบก่อนเรียน 5. กลับหน้าบทเรียน 6. เข้าสู่แบบทดสอบ 2 6 3 4 5 ในการสร้างแบบทดสอบต้องมีการสรุปผลหลังสอบเสร็จ ข้อสอบต้องมีการจับเวลา ข้อละ ไม่เกิน 1 นาที ข้อสอบแต่ละข้อต้องมีการสลับตัวเลือกทุกครั้งที่เข้าทดสอบ

รูปแบบ Story Board อย่างง่าย หน้า แบบทดสอบก่อนเรียน-หลังเรียน 1 1. ตรามหาวิทยาลัย 2. หัวเรื่อง(แบบทดสอบก่อน/หลังเรียน) 3. คำถาม 4.-7 คำตอบแบบตัวเลือก 8. บริเวณแสดง feedback ทั้งกรณี ที่ตอบถูกและตอบผิด 9.พื้นหลังให้ใช้สีโทนสว่างอ่อน ๆ 2 3 4 8 5 6 7 9 Feedback หากตอบถูก “ถูกต้องแล้วครับ เก่งมาก” หากตอบผิด “ผิดครับ ลองทบทวนเนื้อหาใหม่อีกรอบ”

ส่วนรายละเอียดของบทที่ 2-5 ดำเนินการเหมือนกับบทที่ 1 รูปแบบ Story Board อย่างง่าย ส่วนรายละเอียดของบทที่ 2-5 ดำเนินการเหมือนกับบทที่ 1 ในบทเรียนหน้าหลักต้องมีการนำเสนอที่น่าสนใจ มีการเคลื่อนไหว ในบทเรียนต้องมีเสียงบรรยายของบทเรียนให้ครบถ้วน หากผู้เรียนไม่สามารถทำแบบทดสอบได้เกิน 80 เปอร์เซ็นต์ไม่อนุญาต ให้ข้ามบทเรียนหรือไปในบทเรียนถัดไปได้ ภาพประกอบในแต่ละบทควรทำให้มีการเคลื่อนไหว ในหน้าหลักก่อนเข้าสู่บทเรียนคงขึ้นอยู่กับโปรแกรมเมอร์เพราะจะได้เป็นรูปแบบที่เหมือนกันทุกคน