วิกฤตการณ์ทรัพยากรป่าไม้ในประเทศไทย โชคชัย บุตรครุธ
5.วิกฤตการณ์ทรัพยากรป่าไม้ในประเทศไทย 5.1 การสูญเสียพื้นที่ป่าไม้จำนวนมาก มีการบุกรุกทำลายป่า (1) พื้นที่ป่าในสมัยรัชกาลที่ 5 พ.ศ. 2453 มีประมาณ 225 ล้านไร่ หรือร้อยละ 70 ของพื้นที่ประเทศ (2) พื้นที่ป่าไม้ในปัจจุบัน พ.ศ. 2541 มีเหลือประมาณ 81.0 ล้านไร่ หรือร้อยละ 25 ของพื้นที่ประเทศ
5.วิกฤตการณ์ทรัพยากรป่าไม้ในประเทศไทย (1) การบุกรุกพื้นที่ป่าของราษฎร (2) การเกิดไฟไหม้ป่า (3) การลักลอบตัดไม้ทำลายป่าของนายทุน (4) การพัฒนาและความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
5.วิกฤตการณ์ทรัพยากรป่าไม้ในประเทศไทย 5.3 ผลกระทบของปัญหาวิกฤติทรัพยากรป่าไม้ (1) ผลกระทบต่อสภาพแวดล้อม - การพังทลายของหน้าดิน จากการกระทำของฝนและน้ำจากภูเขา ทำให้ดินขาดความอุดมสมบูรณ์ - เกิดน้ำท่วมฉับพลัน -พื้นที่ขาดความชุ่มชื้น (2) ผลกระทบทางเศรษฐกิจ
6. การสูญเสียพื้นที่ป่าชายเลนในประเทศไทย 6.1 การสูญเสียพื้นที่ป่าชายเลนอย่างรวดเร็ว 6.2 ผลกระทบจากการสูญเสียพื้นที่ป่าชายเลน การสูญเสียพื้นที่ป่าชายเลนเกิดผลเสียต่อเศรษฐกิจและระบบนิเวศ ดังนี้ ทำลายแหล่งแพร่พันธุ เกิดการพังทลายของหน้าดิน
7. วิกฤตการณ์ทรัพยากรสัตว์ป่าในประเทศไทย 7.1 สาเหตุที่ทำให้สัตว์ป่าลดจำนวนลง ได้แก่ (1) การทำลายป่า (2) การล่าสัตว์เพื่อการค้า (3) ได้รับพิษจากสารเคมีที่ใช้กำจัดศัตรูพืช
7. วิกฤตการณ์ทรัพยากรสัตว์ป่าในประเทศไทย 7.2 การจำแนกประเภทของสัตว์ป่า (1) สัตว์ป่าสงวน หมายถึง สัตว์ป่าที่หายากหรือใกล้จะสูญพันธ์ มี 15 ชนิด (2) สัตว์ป่าคุ้มครอง หมายถึง สัตว์ป่าที่กฎหมายกำหนดให้เป็นสัตว์ป่าคุ้มครอง
7. วิกฤตการณ์ทรัพยากรสัตว์ป่าในประเทศไทย 7.3 ข้อห้ามตามกฎหมาย (1) ข้อห้ามที่เหมือนกันทั้งสัตว์ป่าสงวนและสัตว์ป่าคุ้มครอง (2)ข้อยกเว้นเฉพาะสัตว์ป่าคุ้มครอง ทางราชการจะอนุญาตให้มีไว้ครอบครองได้
7. วิกฤตการณ์ทรัพยากรสัตว์ป่าในประเทศไทย 7.4 สัตว์ป่าในประเทศไทยที่สูญพันธุ์ไปแล้ว แบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม คือ (1) กลุ่มที่สูญพันธุ์ไปแล้วตามธรรมชาติ (2) กลุ่มสูญพันธุ์ไปแล้วยังเหลือการเพาะเลี้ยง