คุณธรรมสำหรับผู้ปกครอง 10 ประการ ดังนี้

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โดย อาจารย์วารุณี ถีระแก้ว โรงเรียนวัดไร่ขิง จังหวัดนครปฐม
Advertisements

(กำหนดขึ้นโดยสำนักงานผู้ตรวจการแผ่นดิน)
ลักษณะของครูที่ดี.
พุทธธรรม นำบุคลิกภาพ อ.วิยะดา วรธนานันท์ สำนักการศึกษาต่อเนื่อง
คุณธรรม 10 ประการ.
สื่อช่วยสอน สาระสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม เรื่อง เบญจศีล – เบญจธรรม
บุญ ๑๐ วิธี ๑ . ให้ทาน แบ่งปันผู้อื่นด้วยสิ่งของไม่ว่าจะให้ใครก็เป็นบุญสิ่งของที่เราแบ่งปันจะเป็นประโยชน์กับบุคคลหรือชุมชนโดยส่วนรวม.
บุญ.
การพัฒนานโยบายความมั่นคงแห่งชาติ ของกระทรวงวัฒนธรรม
ชื่อ เด็กหญิง รัตนา ศรีรัตน์ ชั้นม.3/2 เลขที่4
จริยศาสตร์ในพุทธปรัชญา
เรื่อง หน้าที่พลเมือง
“คุณธรรม” และ “จริยธรรม”
จริยธรรมข้าราชการพลเรือน
กรมส่งกำลังบำรุงทหาร
นางสาวรัชดา สุทธิวรวุฒิกุล
นโยบาย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ (นายพงศ์เทพ เทพกาญจนา)
บุคลิก 9 ประการ ที่ควรพัฒนา
พระพุทธศาสนา ฝึกคนไม่ให้ประมาท.
การรายงานและการประเมิน ด้านที่ ๓
ธรรมนูญชีวิตที่ดีงาม
ด.ช.ณัฐนันท์ขาววิเศษ เลขที่1ป4/6
มนุษยสัมพันธ์ในการทำงาน
กระบวนการศึกษา ๑.รู้ ๔.นิสัยดี ๕.บุญ ๓.ปฏิบัติ ๒.เข้าใจ คำสอน จากครูดี
สังคหวัตถุ 4 บรรยายโดย อ.พงศ์สฎา เฉลิมกลิ่น มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม.
คุณธรรม ***** สภาพคุณงามความดี
“การสร้างองค์กรต้นแบบ เศรษฐกิจพอเพียง โดยการส่งเสริมและสนับสนุนการดำเนินการของหน่วยงานภาครัฐ” จัดโดย สำนักงาน ปปช. สรุปและนำเสนอโดย ภญ.ธีรารัตน์ สุวรรณาลัย.
ผู้บริหารพบนักเรียน.
การระดมสมอง Brainstroming.
K M กจ. ประจำเดือนมีนาคม 2551
KM ประจำเดือนตุลาคม 2550 สวัสดีค่ะ...พบกับข้อมูลข่าวสาร KM ของกองการเจ้าหน้าที่ ได้ที่นี่กันเป็นประจำ นะคะ ... และสำหรับการต้อนรับปีงบประมาณใหม่ ปี 2551.
ชีวิตที่พอเพียงสู่ความสุขที่ยั่งยืน
Ombudsman Talk.
ดร.สมโภชน์ นพคุณ รองเลขาธิการ ก.พ. สำนักงาน ก.พ.
หน้าที่ ของผู้จัดและผู้ให้การศึกษานั้น กล่าว อย่างสั้นที่สุดก็คือการให้คนได้เรียนดี เพื่อที่จะ สามารถทำการงานสร้างตัวและดำรงตัวให้เป็นหลัก เป็นประโยชน์แก่ส่วนรวมได้
กรรมคืออะไร ?, มีจริงหรือไม่ ?
กรอบคิด รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย แผนพัฒนาฯฉบับที่ ๑๐-๑๑
ความคาดหวังของการส่งเสริมวินัยและจริยธรรมข้าราชการ กรมอนามัย
ทบทวน หน่วยที่ 1 ความสำคัญของพระพุทธศาสนา 1
วิชาธรรมศึกษา จัดทำโดย พระ บุญมี อนามโย วัดคลองมะนาว.
เกร็ดความรู้ที่เยาวชนไทยควรทราบ
“แนวทางการจัดตั้งชมรมเสริมสร้างวินัยประเทศไทยใสสะอาดเพื่อสร้างเครือข่าย การส่งเสริมคนดี มีวินัย น้อมเกล้าฯ ถวายในหลวง”
โรงเรียนบ้านละหาร เสนอ
แบบฝึกเพื่อพัฒนาทักษะการคิดเลขเร็ว เรื่อง ทบทวนการคูณ และการหาร
พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2551
การส่งเสริมครอบครัวแข็งแรงเพื่อเป็นฐานของสังคมตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ปี 2557.
ด้านที่ ๓ ผลการดำเนินงาน
มรรค : ธรรมที่ควรเจริญ
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม สาระที่ ๑ : ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม
ศาสนาพุทธ เรื่อง ฆราวาสธรรม ๔ จัดทำโดย
จรรยาบรรณ นางสาวสมลักษณ์ ลวดเงิน พนักงานพัฒนากองทุนหมู่บ้าน
การรู้สัจธรรมของชีวิต
กลยุทธ์การขับเคลื่อน งานพัฒนาชุมชน ให้มีประสิทธิภาพ ประจำปี ๒๕๕๖
คุณธรรมนักปกครอง กับค่านิยมหลักของคนไทย นายประดิษฐ์ ยมานันท์
โรงเรียนไทยรัฐวิทยา 97 (บ้านบางบอน) สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาระนอง
หน่วย แผนกธุรการและกำลังพล
ผู้สอน ครูศรีวรรณ ปานสง่า
ประโยคในการสื่อสาร จัดทำโดย ด.ช. อนันต์ ผลทับทิม เลขที่ ๔๓
คำปฏิญาณและกฎของลูกเสือ
"วาริชภูมิน่าอยู่ ผู้คนสุขภาพดี ภาคี เข้มแข็ง"
ระบบสุขภาพชุมชน : คุณค่า และความดีงาม ๑๓ มีนาคม ๒๕๕๖ มหกรรมกองทุนหลักประกัน สุขภาพระดับท้องถิ่น.
หน่วยที่ ๗ การโฆษณา ความหมายของการโฆษณา
พระครูพิศิษฏ์คณาทร วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร
มาตรฐานฑูตคุณภาพ คุณธรรม ๙ ประการ
“ชีวิตมีคุณค่า พึ่งพาเศรษฐกิจพอเพียง”
ผู้ร่วมงาน ๑. นายชัยเดช แสงทองฟ้า. เลขที่ ๒ ๒. นายวสันต์ เสริฐศรี
มงคล 38 ประการ พระพุทธเจ้าต้องการสอนให้ประชาชนรู้ ว่าปฏิบัติตนอย่างไรจึงจะเป็นมงคลแก่ตัวเอง แบ่งเป็น - สำหรับเยาวชน 10 ประการ - สำหรับคนวัยทำงาน 18.
การปฏิบัติตัวของวัยรุ่น
แบบฝึกเพื่อพัฒนาทักษะการคิดเลขเร็ว เรื่อง ทบทวนการคูณ และการหาร
แบบฝึกเพื่อพัฒนาทักษะการคิดเลขเร็ว เรื่อง ทบทวนการคูณ และการหาร
ใบสำเนางานนำเสนอ:

คุณธรรมสำหรับผู้ปกครอง 10 ประการ ดังนี้ ทศพิธราชธรรม คุณธรรมสำหรับผู้ปกครอง 10 ประการ ดังนี้

๑. ทาน ทาน คือ การบำเพ็ญตนให้เป็นผู้ให้ มิใช่เพื่อจะเอาอะไรจากผู้อื่น รวมทั้งความช่วยเหลือแก่ประชาราษฎร์ผู้อยู่ภายใต้การปกครองให้มีความสะดวกปลอดภัย

๒. ศีล ศีล คือ ประพฤติกรรมทั้งทางกาย วาจา (ถือศีล ๕ หรือศีล ๘) ประกอบแต่สิ่งที่สุจริต เพื่อเป็นตัวอย่างที่ดีแก่ประชาชน

๓. ปริจาคะ ปริจาคะ คือ การยอมเสียสละความสุกข์ส่วนตน เพื่อดูแลทุกข์สุขแก่อาณาประชาราษฎร์ โดยไม่เห็นความเหน็ดเหนื่อย

๔. อาชชวะ อาชชวะ คือ มีความซื่อสัตย์ ซื่อตรง มีความจริงใจต่อทุกคน

๕. มัททวะ มัททวะ คือ การมีอัธยาศัยไม่เย่อหยิ่งถือตัว และ มีกริยาสุภาพอ่อนโยนต่อผู้ใต้ปกครองทุกชนชั้น

๖.ตบะ ตบะคือการมีจิตใจเข้มแข็ง รู้จักระงับยับยั้งชั่งใจ มิให้หมกมุ่นกิเลส ตัณหา หรือมัวเมากับความสุขสำราญต่าง ๆ

๗.อักโกธะ อักโกธะคือ ความไม่โกรธ ไม่เกรี้ยวกราด ไม่ทำการด้วยลุแก่โทสะ ตัดสินปัญหาต่าง ๆ ด้วยความสุขุมรอบคอบ

๘.อวิหิงสา อวิหิงสา คือ การไม่เบียดเบียน ไม่กดขี่ข่มเหงผู้ใต้ปกครองโดยไม่เป็นธรรม แต่มีความเมตตากรุณาและเที่ยงธรรมต่อทุกคน

๙.ขันติ ขันติ คือ อดทนต่อความอยากลำบากทั้งปวง อดทนต่อการวิพากษ์วิจารณ์คำสรรเสริญนินทาต่างๆ

๑๐.อวิโรธนะ อวิโรธนะ คือ การประพฤติตนมิให้ผิดไปจากทำนองคลองธรรม ทำการใดๆ โดยถูกต้องตามนิติธรรม (ระเบียบแบบแผนการปกครอง) หลักยุติธรรม (ความเที่ยงธรรม) และหลักศาสนธรรม (ความถูกต้องดีงาม)