กรณีศึกษา แนวทางการปฏิบัติที่แตกต่างกันของสองบริษัท คือ Dell และ Hewlett – Packard ว่าที่ร้อยตรีเกรียงไกร ศรีประเสริฐ รหัสนักศึกษา 542132028 สาขาการจัดการความรู้

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Business Directions ( Goal 2009) UBP GOAL VISION. People business serving coffee not coffee business serving by people เป็นองค์กรระดับกลางที่เป็นผู้นำในธุรกิจกาแฟสด.
Advertisements

สาขาวิชาที่เปิดสอน วิทยาลัยการอาชีพนครนายก Nakornnayok industrial and community education collage.
นโยบายการศึกษา.
Product and Price Management.
ความสำคัญของการจัดการนวัตกรรมและเทคโนโลยี
การจัดการผลิตอย่างเป็นระบบ
บทที่ 4 การวางแผนกลยุทธ์ธุรกิจออนไลน์
Best Practice.
“นโยบายส่งเสริมงานวิจัยและ พัฒนาด้านวิทยาศาสตร์
การนำระบบคอมพิวเตอร์เข้ามาใช้ในธุรกิจการท่องเที่ยว
เทคนิคการสัมภาษณ์งานแบบวัด (Competency)
การบริหารสินค้าของร้านค้าปลีก (Management of retail products)
เครือข่ายสังคมออนไลน์
การพัฒนาการให้บริการระบบสารสนเทศ งานทะเบียนผ่าน smart device
“ลูกค้าสัมพันธ์” ก้าวใหม่ในการบริการห้องสมุด
การจัดการระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
ระบบสารสนเทศ เพื่อการจัดการ และกรณีศึกษา
บทที่ 8 การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (E-commerce)
TelecommunicationAndNetworks
Logistics Logistics เป็นกระบวนการที่เกี่ยวข้องกับการบริหาร การเคลื่อนย้ายและการเก็บวัตถุดิบ สินค้าระหว่างผลิต และสินค้าสำเร็จรูป รวมทั้งข้อมูลที่เกี่ยวข้องจากจุดกำเนิด.
BA 925 การบริหารกลยุทธ์ ภาคฤดูร้อน ปีการศึกษา 2551
การวิจัยธุรกิจ (Business Research) การวิจัยธุรกิจ กระบวนการที่ดำเนินอย่างมีระเบียบกฎเกณฑ์ กระบวนการที่ดำเนินอย่างมีระเบียบกฎเกณฑ์ ในการเก็บรวบรวมข้อมูลและดำเนินงานกับข้อมูล.
ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ (Management Information System :MIS)
เศรษฐกิจบนพื้นฐานความคิดสร้างสรรค์ (Creative Economy)
ลำดับขั้นของความรู้ [knowledge level]
ตัวอย่าง นวัตกรรมทางการพยาบาล
การจัดการความรู้ (Knowledge Management : KM)
วัตถุประสงค์ของการศึกษาด้วยกรณีศึกษา
บทบาทการบริหารงานสำนักงาน 1
ระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหาร
การจัดเตรียมเอกสารเพื่อการขอรับรอง
บทเรียนการเป็นผู้นำนวัตกรรมเทคโนโลยีที่พ่ายแพ้
ผู้จัดการฝ่ายขายมืออาชีพ (Professional Sales Manager)
ความรู้เบื้องต้นในการวินิจฉัยธุรกิจ
Computer Application in Customer Relationship Management
หัวข้อ 3.1 ความรู้เกี่ยวกับลูกค้าและตลาด
ผศ.ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข
IS กับ IT IS ต้องอาศัย IT
มูลค่าการส่งออก-นำเข้าสินค้าไฟฟ้าอิเล็กทรอนิกส์ ปี
ใบความรู้ เรื่อง สื่อสารสนเทศในแบบต่างๆ
บทบาทของระบบสารสนเทศในองค์การ
“การถ่ายทอดตัวชี้วัด จากระดับองค์กรลงสู่ระดับบุคคล”
Functional Level Strategy
เอกสารเรียนการบริหารการผลิตวันที่ 18 พ.ย.54
Zhang Hongju For พุทธวรรณ ขันต้นธง
นางสาว กรรณิการ์ ปัญญาเมืองใจ
KMS Knowledge Management System
ระบบการจัดการความรู้ นักศึกษาหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต รุ่นที่ 4
เทคโนโลยีการสื่อสารไร้สาย
เอกสารเรียนการบริหารการผลิตวันที่ 21 มิ.ย.54
ศูนย์กำลังคนอาชีวศึกษา
Paradigm Workshop by Dr. Prapon Phasukyud
การเสนอผลการปฏิบัติงานที่เป็นเลิศ
การใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ OS Commerce สำหรับงานพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ โดย อ. ประมุข นิภารักษ์ วันศุกร์ที่ ๓๑ พฤษภาคม ๒๕๕๖ เวลา ๐๙. ๐๐ – ๑๖. ๐๐ น. ห้องปฏิบัติการ.
หลักสูตรศิลปะการพูดในการนำเสนอ บรรยาย โดย อาจารย์วทัญญู มุ่งหมาย
วิชา หลักการตลาด บทที่ 10 การส่งเสริมการขายโดยใช้บุคคล
ระบบสารสนเทศทางการตลาดและความสำคัญ
Chapter 4 การตลาด ผ่านโซเชียลมีเดีย
Chapter 3 การตลาดออนไลน์
เครือข่ายแบบผสม จัดทำโดย ด. ช. ธีรภัทร ระงับทุกข์ ด. ช. ผดุงศักดิ์ อิ่มคุ้ม ด. ช. พีระยุทธ พอกพูล นำเสนอ อ. พรทิพย์ ตองติดรัมย์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทที่ 4 การค้าส่ง.
นางรัชนี กิจฉวี วิทยาลัยอาชีวศึกษาดุสิตพณิชยการ
บทที่ 7 การพยากรณ์ยอดขาย.
ในแผนกการจัดการธุรกิจท่องเที่ยว ปีการศึกษา 2555
บทที่ 5 การสร้างโอกาสทางธุรกิจ
ปฏิบัติงานบริการคอมพิวเตอร์
หน่วยที่1 ข้อมูลทางการตลาด
วิชา หลักการตลาด บทที่ 5
รายงานผลการพัฒนาความรู้เกี่ยวกับระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ ผู้วิจัย อาจารย์จิตรสนา พรมสุทธิ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
ใบสำเนางานนำเสนอ:

กรณีศึกษา แนวทางการปฏิบัติที่แตกต่างกันของสองบริษัท คือ Dell และ Hewlett – Packard ว่าที่ร้อยตรีเกรียงไกร ศรีประเสริฐ รหัสนักศึกษา 542132028 สาขาการจัดการความรู้ วิทยาลัยศิลปะ สื่อและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

แนวทางการปฏิบัติที่แตกต่างกันของสองบริษัท คือ Dell และ Hewlett – Packard ปัจจัยแห่งความสำเร็จของทั้งสองบริษัท (Key Success factors) บริษัท Dell HP กลยุทธ์ การประกอบเครื่องพีซีตามความต้องการของลูกค้า การมีสัมพันธภาพที่ดี และมีการตกลงกันก่อนล่วงหน้า KM การใช้ความรู้ซ้ำๆ การแลกเปลี่ยนความรู้ไว้ในแบบบุคคลสู่บุคคล เป้าหมาย นำเสนอบริการตามความต้องการอย่างสุดกู่ สำหรับการพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่หรือสร้างนวัตกรรมใหม่

แนวทางการปฏิบัติของบริษัท Dell กลยุทธ์การแข่งขันของเดลล์ก็คือ การประกอบเครื่องพีซีตามความต้องการที่ราคาไม่แพง และขายตรงสู่ลูกค้า ระบบการจัดการความรู้ที่ซับซ้อนเป็นปัจจัยสำคัญอยู่เบื้องหลังรูปแบบทางธุรกิจนี้ เดลล์ได้ลงทุนไปเป็นจำนวนมากในเรื่องของคลังข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ ที่บรรจุรายการของ ส่วนประกอบต่างๆ ที่มีอยู่ตลอดเวลา

แนวทางการปฏิบัติของบริษัท Dell เดลล์ต้องลงทุนลงแรงในการมีสัมพันธภาพที่ดี และมีการตกลงกันก่อนล่วงหน้า เพื่อตัดสินใจและกำหนดคุณสมบัติต่างๆ แต่การลงทุนนี้ก็ให้ผลคุ้มค่า จากการที่ได้มีการใช้ความรู้ซ้ำๆ นั่นเอง ในปี 1997 เดลล์ส่งเครื่องพีซีได้ถึง 11 ล้านเครื่อง ระบบเหล่านี้ประกอบจากคุณสมบัติที่ต่างกัน ถึง 40,000 แบบ (โดยที่คู่แข่งโดยทั่วไปเสนอลูกค้าได้เพียง 100 แบบ) ที่มาของรูปภาพ : http://www.dell.com/ และhttp://onairnetwork.net/main/dell-saler/

แนวทางการปฏิบัติของบริษัท Hewlett – Packard Hewlett – Packard (HP) ได้ใช้แนวทางแบบบุคคลต่อบุคคลในการสนับสนุนกลยุทธ์ธุรกิจสำหรับการพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ต่างๆ เพื่อให้กลยุทธ์นี้ประสบความสำเร็จ ความรู้ ทางเทคนิคต่างๆ จะต้องส่งผ่านไปยังทีมพัฒนาผลิตภัณฑ์ได้ทันการ บริษัทจึงได้จัดช่องทางของการแลกเปลี่ยนความรู้ไว้ในแบบบุคคลสู่บุคคล

แนวทางการปฏิบัติของบริษัท Hewlett – Packard ตัวอย่างเช่น พวกวิศวกรที่มักจะใช้เครื่องบินเป็นประจำเพื่อไปเยี่ยมแผนกอื่นๆ และร่วมกันแบ่งปันความคิดเห็นเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ใหม่ที่มีความเป็นไปได้โดยใช้แนวทางแบบบุคคลสู่บุคคลเพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์ในการประชุมกับแผนกต่างๆ ทั่วโลก รวมถึงการร่วมประชุมใหญ่ในระดับบริษัท

แนวทางการปฏิบัติของบริษัท Hewlett – Packard ทีมงานของ HP เพิ่งได้พัฒนาเครื่องวัดคลื่นไฟฟ้าอิเล็กทรอนิกส์ (Oscilloscope) ซึ่งประสบความสำเร็จเป็นอย่างมาก โดยใช้ระบบปฏิบัติการและระบบการเชื่อมต่อบน Windows ที่มารูป : http://www.metrologygauge.com/osilloscope.htmและ ww8.hp.com/th/en/home.html

สรุปกรณีศึกษา อย่าใช้กลยุทธ์ซ้อนกัน บริษัทต่างๆ ที่มีการใช้ความรู้อย่างมีประสิทธิผลมักจะใช้กลยุทธ์อันใดอันหนึ่งเป็นหลัก และใช้อีกกลยุทธ์หนึ่งเป็นตัวสนับสนุนกลยุทธ์แรก ซึ่งน่าจะอยู่ในสัดส่วน ในโดยประมาณ 80 – 20 กล่าวคือ 80% ของการแบ่งปันความรู้ควรสนับสนุนด้วยกลยุทธ์หนึ่ง ขณะที่ 20% นั้นควรใช้อีกกลยุทธ์หนึ่ง