27 ตุลาคม 2551 ณ ศูนย์ประชุมอุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ผลประเมินสถานภาพและ ข้อเสนอมาตรการสร้างความเข้มแข็ง IBC ของประเทศไทย
Advertisements

การเสริมสร้างความเข้มแข็ง ของระบบบัณฑิตศึกษา 14 กุมภาพันธ์ 2550.
การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
กลุ่มวิชาชีพ/ วิชาการ/ กฎหมาย/ระเบียบ
ขั้นตอนการเสนอแบบประเมินและพิจารณาโครงการวิจัย
สรุปผลการจัดทำแผนปฏิบัติการสร้างความเข้มแข็ง IBC
กลุ่มที่ 1 สถาบันที่มี IBC
กลุ่มที่ 2 สถาบันที่ยังไม่มี IBC
กลุ่มที่ 2 สถาบันที่ยังไม่มี IBC
ระบบการประเมินเพื่อพัฒนาผลการปฏิบัติงาน บุคลากรสายสนับสนุน
กลุ่มที่ 3 กลุ่มจังหวัดที่ 6.1 กลุ่มจังหวัดที่ 6.2 กลุ่มจังหวัดที่ 6.3 กลุ่มจังหวัดที่ 7.1 กลุ่มจังหวัดที่ 7.2.
น.ส. บุญศรี โชติวรรณวิวัฒน์
นโยบายการบริหารจัดการ สถาบันเอเชียตะวันออกศึกษา
แนวทางการรายงานผลการ ดำเนินการ ตั้วบ่งชี้ที่ สกอ
ผลการประเมินคุณภาพด้วยวาจา
ชื่อตัวบ่งชี้ 5.1 : สภาสถาบันและผู้บริหารมี วิสัยทัศน์ที่ขับเคลื่อนพันธกิจ และ สามารถสะท้อนถึง นโยบาย วัตถุประสงค์ และนำไปสู่เป้าหมาย ของการบริหารจัดการที่ดี
การประเมินสภามหาวิทยาลัย
ที่มาของระบบควบคุมภายใน
แผนที่ยุทธศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา พ.ศ
กลุ่มที่ สถาบันที่มี IBC
การติดตามประเมินผล ความหมาย การวัดผลการปฏิบัติงานในหน้าที่ของพนักงานช่วงเวลาใดเวลาหนึ่งโดยเปรียบเทียบผลการปฏิบัติงานกับมาตรฐานที่กำหนดไว้ วัตถุประสงค์
แนวทางการบริหารของ สพท
ชื่อตัวบ่งชี้ : 5.2 มีการพัฒนาสถาบันสู่องค์การ เรียนรู้โดยอาศัยผลการประเมินจาก ภายในและภายนอก ( ระดับ ) 1. จุดอ่อน เนื่องจากบุคลากรแต่ละคนมีภาระงานที่ต้อง.
ชื่อตัวบ่งชี้ 2.4 : ร้อยละของอาจารย์ประจำที่ได้รับ ทุนทำวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ จากภายในสถาบันต่ออาจารย์ประจำ ทุกระดับ 1. จุดอ่อน อัตรากำลังของคณะฯ มีจำนวนน้อยและมีภาระงาน.
ประเด็นที่เกี่ยวข้องกับเกณฑ์ฯ
คำอธิบายแนวทางการให้คะแนน เอกสาร/หลักฐานการดำเนินงาน
การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
การเสริมสร้างความเข้มแข็งของระบบบัณฑิตศึกษา
มิติที่ 4 ด้านการพัฒนาองค์กร
วันที่ถ่ายทอด มีนาคม 2548 สถานที่ถ่ายทอด โรงแรมเทวราช อ.เมือง จ.น่าน
เอกสารประกอบการประชุมผู้บริหารกรมควบคุมโรค
สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 5 จังหวัดนครราชสีมา
BRAND “ กรมควบคุมโรค ” สรุปการประชุมปฏิบัติการจัดทำสัญญนิยม 19 เมษายน 2550 ณ จังหวัดเชียงใหม่ ประชุมกรมควบคุมโรค 15 พฤษภาคม 2550.
ผลการประชุมกลุ่มย่อย เรื่อง บทบาทของภาคธุรกิจใน การสนับสนุนให้นำเอา GHS ไปปฏิบัติ กลุ่มที่ 1 : บทบาทภาคธุรกิจอุตสาหกรรม นำเสนอต่อการประชุมสัมมนาระดับชาติ
แผนที่ยุทธศาสตร์ (SRM) ระบบรับรองผู้สัมผัสอาหารมืออาชีพ
กลุ่ม น้ำบริโภคสะอาด ปลอดภัย เพียงพอ
รายงานประจำปี 2553 ANNUAL REPORT โครงสร้างการ บริหารงาน คณะกรรมการบริหาร สถาบันวิจัย คณะกรรมการเพื่อ ความปลอดภัยทาง ชีวภาพ คณะกรรมการ จริยธรรมการวิจัยใน.
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและ โอกาส พัฒนาในโครงการพัฒนา คุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ ผู้ป่วยเอดส์ในภาพรวมของเขต สำนักงานป้องกันควบคุม โรคที่ 4 จ. ราชบุรี
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและ โอกาสพัฒนาในโครงการพัฒนา คุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ ผู้ป่วยเอดส์ ในภาพรวมของเขต เขต 8 นครสวรรค์ นครสวรรค์ กำแพงเพชร อุทัยธานี
1 การประเมิน คุณภาพภายใน ประจำปีการศึกษา 2550 โดย คณะกรรมการประเมิน คุณภาพภายใน เขตการศึกษา วันที่
การประเมินคุณภาพภายใน ประจำปีการศึกษา 2550 หน่วยงานสนับสนุน
ประชุมสร้างความเข้าใจ นำนโยบายสู่การปฏิบัติ โครงสร้าง และแผนปฏิบัติการ
กลุ่มที่ 5 : บุคคลที่มีการเรียนรู้ผิดปกติ
การพิจารณาเลื่อนขั้นเงินเดือน/ ค่าจ้างประจำ
การปฏิบัติตามแนวทางถ่ายโอนภารกิจฯ จังหวัดเพชรบูรณ์ 1
จุดอ่อน คณะกรรมการศูนย์ฯ ได้รับเบี้ยประชุมน้อย ขาดสวัสดิการ
แนวปฏิบัติในการดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา
รายละเอียดประสบการณ์ภาคสนาม (Field Experience Specification)
SWOT งานการเงินและบัญชี
การบรรยายความรู้เรื่องการประกันคุณภาพการศึกษา
การจัดการความรู้ ศูนย์นิติวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
รองอธิบดีกรมส่งเสริมการเกษตร ฝ่ายวิชาการ
สี ชมพู. 1. ปัญหา - อุปสรรค์ในการ ดำเนินงานด้านสารสนเทศ 1. ขาดบุคลากรด้าน IT ในกลุ่มที่ รับผิดชอบ 2. ประสิทธิของอุปกรณ์ในการสื่อสารต่ำ 3. อุปกรณ์ไม่เพียงพอ.
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
ยุทธศาสตร์กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
บทบาทนายหมายเลข ๑ ผู้บังคับบัญชา ผู้บริหาร ผู้นำ ผู้ประสานงาน.
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข ว่าด้วยเกณฑ์จริยธรรมการจัดซื้อจัดหา
แผนการดำเนินงาน ของศูนย์กฎหมาย ปีงบประมาณ พ.ศ กรมควบคุมโรค
กระบวนการกลุ่ม เครือข่ายการตลาด
ตัวอย่างกิจกรรมภายใต้บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ศูนย์อำนวยการจราจร และลดอุบัติเหตุทางถนน ตำรวจภูธรจังหวัดบุรีรัมย์
สำหรับโรงเรียนจัดตั้งใหม่ให้พิจารณาตามความต่อเนื่อง
กลุ่ม A2 “ข้าวเด้ง”.
แนวทางการจัดทำแผน ยุทธศาสตร์ การพัฒนาบุคลากร สถาบัน ธัญญารักษ์ และศูนย์บำบัดรักษายาเสพติด ภูมิภาค 17 – 18 มกราคม 2549 ห้องประชุม 2 / 2 สถาบันธัญญารักษ์
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการจัดระบบบริหารจัดการขยะมูลฝอยของประเทศ พ.ศ ประกาศราชกิจจานุเบกษา วันที่ 25 กันยายน 2557.
หมวด 5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
โรคติดต่อระหว่างสัตว์และคน
ด้านครูและบุคลากรทางการศึกษา
จุดเน้น ด้านการบริหารจัดการ
โครงการจัดตั้ง กองแผนงาน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

27 ตุลาคม 2551 ณ ศูนย์ประชุมอุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย การประชุมคณะกรรมการความปลอดภัย ทางชีวภาพระดับสถาบัน ภูมิภาค ประจำปี 2551 ครั้งที่ 3/2551 ภูมิภาคกลาง 27 ตุลาคม 2551 ณ ศูนย์ประชุมอุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย

จุดแข็ง องค์ประกอบ IBC มีความเหมาะสม (ผู้บริหารเป็นประธาน-เห็นความสำคัญ/ กำหนดเป็นนโยบายได้/การสนับสนุนงบประมาณ, มีบุคคลภายนอก-มีความโปร่งใส) มีการประชุมสม่ำเสมอ/ ต่อเนื่อง และมีการใช้ระบบสื่อ electronic ช่วยให้การประเมินโครงการเป็นไปอย่างรวดเร็ว มีการออกแนวทางปฏิบัติ/คู่มือ และแบบฟอร์มดำเนินการที่ชัดเจน มีความตระหนักเรื่อง Biosafety โดยมีการสัมมนา/อบรม และ update ในเรื่อง biosafety และเรื่องที่เกี่ยวข้อง (พรบ.) มีการตรวจสอบมาตรฐานห้องปฏิบัติการวิจัย และจัดทำฐานข้อมูลงานวิจัย จุดอ่อน IBC ไม่ตระหนักถึงความสำคัญ หรือขาดความกระตือรือร้นในการทำงาน และขาดความเชี่ยวชาญในเรื่องการประเมิน/ จัดการ และสื่อสารความเสี่ยง ขาดระบบการจัดการ/ข้อกำหนด ให้โครงการเข้ารับการพิจารณา และขาดอำนาจในการติดตามตรวจสอบ (จากมหาวิทยาลัย/ granting agency/ พรบ.) ไม่มี Biosafety officer (BSO)/ หรือหน่วยงานที่รับผิดชอบเป็นการเฉพาะ (เพื่อความต่อเนื่องในการดำเนินงาน/ เป็นจุดติดต่อ/ ติดตามงาน/ และมีงบประมาณดำเนินการเป็นการเฉพาะ) แบบฟอร์มและคู่มือต่างๆ เข้าใจอยาก (มาตรฐานในการตรวจสอบห้องปฏิบัติการ) ขาดการประชาสัมพันธ์ให้นักวิจัยรับทราบ เกิดความเข้าใจ และตระหนักถึงความสำคัญ ขาดการ update ข้อมูลต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง (เทคโนโลยี/กฎ ระเบียบ) ขาดระบบรองรับการดำเนินงาน (เช่น กลไกการประสานงานระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง/ ฐานข้อมูล-ผู้เชี่ยวชาญ, สมช.ประเภทต่างๆ/ มาตรการกำจัดขยะพิษ) IBC ที่เป็นบุคคลภายนอกที่มิใช่สายวิทย์ฯ

โอกาส มีการระบุภาระหน้าที่ของ IBC ไว้ในกฎหมายชัดเจน ผู้บริหารตระหนักถึงความสำคัญ หน่วยงาน (กลุ่มงาน) หรือบุคลากร (BSO) รับผิดชอบที่ชัดเจน (เพื่อความต่อเนื่องในการดำเนินงาน/ เป็นจุดติดต่อ/ ติดตามงาน/ และมีงบประมาณดำเนินการเป็นการเฉพาะ) ระบบสนับสนุนการดำเนินงาน เช่น (มาตรฐานในการประเมินโครงการและติดตามผล – แบบฟอร์ม, guideline) มีแหล่งข้อมูลความรู้ ให้ความรู้กับ IBC อย่างต่อเนื่อง มีหน่วยงานกลางให้คำแนะนำหรือเป็นพี่เลี้ยง อุปสรรค ยังไม่มีการบังคับ/ บทลงโทษจากหน่วยงานให้ทุน หรือมหาวิทยาลัยอย่างแท้จริง ทำให้ไม่ได้รับความร่วมมือในการดำเนินงาน ขาดการสนับสนุนจากผู้บริหาร ขาดความชัดเจนของผู้รับผิดชอบโดยตรง ขาด BSO ทำงานเต็มเวลา ทำให้ไม่เกิดความต่อเนื่องในการดำเนินงาน ขาดการสื่อสาร/ ประสานงานระหว่างนักวิจัยกับ IBC ยังไม่มีระบบการติดตามตรวจสอบ หลังอนุญาต (ขาดอำนาจในการดำเนินงาน) องค์ประกอบ IBC (เป็นผู้บริหาร – มีภาระงานมาก เวลาในการทำงานน้อย/ ไม่เป็นผู้บริหาร – ขาดอำนาจในการสั่งการ) ขาดบุคคลากรมีความรู้

1. ขาดบุคลากรที่มีความรู้ความเชี่ยวชาญ จัดฝึกอบรม BSO หรือ IBC โดยเน้นเรื่องการประเมินโครงการ นักวิจัย เรื่อง ความปลอดภัย การจัดการห้อง lab จัดทำหลักสูตร ส่งเสริมเรื่อง biosafety โดยบรรจุเป็นหลักสูตรในมหาวิทยาลัยสำหรับคนที่จะทำงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง หรือฝากไว้ในบางวิชา เช่น Molecular ระบบประกันคุณภาพการศึกษาหรือการใช้สัตว์ทดลอง หมายเหตุ: คัดเลือกผู้เข้าร่วมฝึกอบรมที่เหมาะสม/ สร้างแรงจูงใจโดยกำหนดระดับความเชี่ยวชาญตามระดับที่เคยผ่านการฝึกอบรม/ และมีการออกใบรับรองจากหน่วยงานที่เชื่อถือได้ มีหน่วยงานกลางหรือกรรมการกลางเพื่อพิจารณาโครงการวิจัย

2. ขาดความชัดเจนของผู้รับผิดชอบโดยตรง ทำให้แต่ละหน่วยงานตระหนักถึงความสำคัญ และกำหนดหน่วยงานรับผิดชอบภายใน และบุคคลากรผู้รับผิดชอบหลักหรือคนประสานงาน – แจ้งเรื่องดังกล่าวไปยังแต่ละสถาบันพร้อมสรุปผลการประชุม IBC ภูมิภาค กำหนดให้แต่ละสถาบันมีหน่วยงานหลักที่ทำหน้าที่รับผิดชอบไว้ใน พรบ. หน่วยงานที่เป็น authority ให้ความร่วมมือ/ ทำหน้าที่สร้างระบบในการตรวจสอบและให้ใบรับรองด้าน biosafety