โครงการชลประทานหนองคาย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ทฤษฎีใหม่.
Advertisements

การประชุมแผนแม่บทพัฒนาลุ่มน้ำในเขตอำเภอแม่จัน 31 มีนาคม 2553 ณ ลานทองอุทยานวัฒนธรรมลุ่มน้ำโขง แผนพัฒนาลุ่มน้ำในเขตอำเภอแม่จัน.
สถานการณ์ภัยแล้งและการช่วยเหลือผู้ประสบภัย จังหวัดขอนแก่น
 โครงการส่งเสริมและพัฒนาอาชีพ ประชาชนในจังหวัดเชียงใหม่
ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
ยุทธศาสตร์ชาติ เพื่อการพัฒนาที่อยู่อาศัย
สรุปข้อเสนอแนะ กลุ่มผู้แทนหน่วยงานภาครัฐ เครือข่ายการมีส่วนร่วมภาคประชาชนระดับภูมิภาค.
กองทุนพัฒนาไฟฟ้ากับ การพัฒนาชุมชนในพื้นที่รอบโรงไฟฟ้า
งานซ่อมบำรุง ฝ่ายอาคารสถานที่ สำนักบริหารระบบกายภาพ
เกษตรตามแนว ทฤษฏีใหม่
ความหมาย ปรัชญาและวัตถุประสงค์ ของงานส่งเสริมการประมง
การบริหารงานงบประมาณ
โครงการ RID-CEO กลุ่มสชป กลุ่มทักษิณ.
โครงสร้างที่ ก.พ. กำหนดไว้เดิม โครงสร้างที่ขอปรับปรุงใหม่
การออกแบบงานชลประทานเบื้องต้น (สำหรับบุคลากรในสายสนับสนุนกรมชลประทาน)
การพัฒนาระบบตำแหน่งลูกจ้างประจำ กรมชลประทาน
รองอธิบดีฝ่ายบำรุงรักษา
สำนักบริหาร การมีส่วนร่วมของประชาชน
สรุปบทเรียนผลการดำเนินงานตามแผนยุทธศาสตร์ กรมชลประทาน ปี 2552
1 คุณบุญต่อ ไชยพานิช ผู้อำนวยการส่วนปฏิบัติการ 2 คุณสมชาย วงศ์ศิริ ผู้อำนวยการส่วนวิศวกรรมบริหาร 3 คุณประเวศน์ ศิริศิลป์ ผู้อำนวยการโครงการชลประทานพิจิตร.
ส่วนสำรวจกันเขตและประสานงานรังวัด
การพัฒนาลุ่มน้ำปิงตอนล่างแบบบูรณาการ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
1. งานปรับปรุงฝายคลองน้ำเขียว
การประชุมผู้บริหารสำนักชลประทานที่ 10
ที่ว่าการอำเภอปะนาเระ
นโยบายการคลัง.
....มาแลกเปลี่ยนเรียนรู้กัน โครงการกิ่วคอหมา
แผนปฏิบัติการยะลาเข้มแข็ง ผู้ว่าราชการจังหวัดยะลา
นโยบายและการกำกับดูแลพลังงาน จากมุมมองของค่าไฟฟ้า
6.การตั้งงบประมาณรายจ่าย หมวดเงินอุดหนุน ให้หน่วยงานอื่น
ส่วนฟื้นฟูและพัฒนาพื้นที่อนุรักษ์
การจัดทำคำของบประมาณรายจ่าย กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
โครงสร้างอัตราค่าไฟฟ้า
การประชุมความคืบหน้าโครงการไตรภาคี
นโยบายของท่านเลขาธิการ ส.ป.ก. ด้านการพัฒนาแหล่งน้ำและระบบชลประทาน
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรมเรื่อง มาตรการคุ้มครองความปลอดภัยในการประกอบกิจการโรงงาน ขุด ตัก ลอกหรือดูดทรายหรือดินในที่ดินกรรมสิทธิ์ สำหรับใช้ในการก่อสร้าง.
โครงการ จัดทำระบบบริหารจัดการข้อมูลงานรังวัดเพื่อการชลประทานและแผนที่บัญชีรายชื่อเจ้าของที่ดิน (ร.ว. 43 ก.) เหตุผลความจำเป็น การก่อสร้างโครงการชลประทานมีการจ่ายเงินค่าชดเชย.
ที่ดินเพื่อกิจการชลประทาน
3. ข้อมูลแหล่งน้ำที่พัฒนา
วาระที่ การจัดทำแผนพัฒนาแหล่งน้ำ
ฝ่ายสรรหาและบรรจุแต่งตั้ง
สรุปการประชุม เขต 10.
การถ่ายโอนภารกิจด้านน้ำบาดาล ให้แก่ อปท.
กลุ่มที่ 1.
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
จิตรา ณีศะนันท์ เจ้าหน้าที่ตรวจสอบภาษี
การสร้างจิตสำนึกในการอนุรักษ์ทรัพยากร
สำนักงานเกษตรอำเภอนาด้วง จังหวัดเลย
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การดำเนินงาน และพัฒนายุวเกษตรกร
สำนักงานเกษตรอำเภอแก่งกระจาน
แผนปฏิบัติงาน 5 ปี (2553 – 2557) นิคมการเกษตรข้าวหอมมะลิ
การประชุมผู้บริหารสำนักชลประทานที่ 10
สำนักงานจัดรูปที่ดินจังหวัดราชบุรี
แผนงบประมาณ ปี 2558 – 2559 งบประมาณ ล้านบาท
ส่วนเครื่องจักรกล ผลการปฏิบัติงาน งานซ่อมแซมอาคารระบายน้ำปลายคลองส่งน้ำสายใหญ่ แม่วังฝั่งซ้าย ดำเนินการโดย ฝ่ายปฏิบัติการเครื่องจักรกลงานดิน ช่วงระยะเวลา.
ความหมายและความสำคัญเกษตรทฤษฎีใหม่
โครงการประตูระบายน้ำห้วยบังอี่ บ้านนาโพธิ์ ตำบลโพธิ์ไทร
ระบบส่งน้ำสถานีสูบน้ำ PL2 PL3
1. ธุรกิจบริการ สหกรณ์เป็นตัวกลางในการเก็บค่า กระแสไฟฟ้าที่ใช้ในการส่งน้ำเพื่อ การเกษตรของโครงการสูบน้ำและ บำรุงรักษาสุโขทัย ( ชลประทาน ) ธุรกิจนี้สหกรณ์จะมีรายได้จากการ.
งานสำนักงาน หน่วยการเรียนรู้ที่ 3.
ค่าใช้จ่ายสำรองเพื่อ กระตุ้นเศรษฐกิจ งบกลาง 58,000 ล้านบาท.
สรุปผลการดำเนินงานกลุ่มที่ 3 ภาคกลาง
แผนงบประมาณ ปี 2558 – 2560 งบประมาณ 600 ล้านบาท
โครงการฝายยางลำเซบาย ตำบลนาหมอม้า อำเภอเมือง จังหวัดอำนาจเจริญ
เกษตรอินทรีย์ชีวภาพบ้านตะโกสิงห์หมู่ 9 ตำบลอีสานเขต
การเลือกสถานที่ตั้งโรงงาน
ประกอบด้วย จังหวัด 1. ลำพูน 2. อุบลราชธานี 3. สุพรรณบุรี 4. สุรินทร์
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โครงการชลประทานหนองคาย Royal Irrigation Department กรมชลประทาน ที่ทำการ : สำนักชลประทานที่ 5 ฝ่ายปฏิบัติการสูบน้ำหนองคายและโครงการฝายห้วยหลวง โครงการชลประทานหนองคาย อ.เมือง จ.หนองคาย โครงการชลประทานสกลนคร : 1. เป็น 1 ใน 5 ชลประทานจังหวัด RID-CEO ของสำนักชลประทานที่ 5 ที่ทำการตั้งอยู่บริเวณอ่างเก็บน้ำห้วยเดียก บ้านนาคำ ตำบลห้วยยาง อำเภอเมือง จังหวัดสกลนคร 2. หน่วยงานในระบบเครื่องข่าย RID-CEO ที่เกี่ยวข้อง ประกอบด้วย ศูนย์ฯภูพาน โครงการฯน้ำอูน โครงการก่อสร้าง 2 สำนักงานจัดรูปที่ดินฯ ฝ่ายปฏิบัติการสูบน้ำด้วยไฟฟ้า

ฝ่ายปฏิบัติการสูบน้ำด้วยไฟฟ้า จังหวัดหนองคาย โครงการชลประทานหนองคาย Royal Irrigation Department กรมชลประทาน ฝ่ายปฏิบัติการสูบน้ำด้วยไฟฟ้า จังหวัดหนองคาย ภารกิจดูแลให้คำปรึกษาสถานีสูบน้ำที่ถ่ายโอน ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และดำเนินการก่อสร้างสถานีสูบน้ำใหม่ตามที่ราษฎรร้องขอ

ฝ่ายปฏิบัติการสูบน้ำด้วยไฟฟ้า จังหวัดหนองคาย โครงการชลประทานหนองคาย Royal Irrigation Department กรมชลประทาน ฝ่ายปฏิบัติการสูบน้ำด้วยไฟฟ้า จังหวัดหนองคาย ความสำคัญของสถานีสูบน้ำด้วยไฟฟ้า โครงการสูบน้ำด้วยไฟฟ้า มีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมการใช้พลังงานให้เป็นประโยชน์ ด้านการเกษตร และสนับสนุนนโยบายของรัฐบาลในการเร่งรัดขจัดปัญหาความแห้งแล้งของ ประเทศในพื้นที่ที่อยู่นอกเขตโครงการชลประทานโดยการจัดตั้งสถานีสูบน้ำด้วยไฟฟ้า ขึ้นที่ บริเวณริมฝั่งของแหล่งน้ำที่มีน้ำบริบูรณ์ตลอดทั้งปีทั่วประเทศ ซึ่งจะสามารถส่งให้เกษตรกร ทำการเพาะปลูกได้ตลอดปีในพื้นที่ ประมาณสถานีละ 500 - 3,000 ไร่

ฝ่ายปฏิบัติการสูบน้ำด้วยไฟฟ้า จังหวัดหนองคาย โครงการชลประทานหนองคาย Royal Irrigation Department กรมชลประทาน ฝ่ายปฏิบัติการสูบน้ำด้วยไฟฟ้า จังหวัดหนองคาย 1.ขุดลอกคลองดิน ท้องคลองคอนกรีต ก่อนเริ่มฤดูกาลทุกครั้ง 3.ขุดคลองไส้ไก่เข้าสู่ที่นาของตนเอง (ขนาดคลองน้อยกว่า 0.05 ม. / นาที) หน้าที่ของคณะกรรมการ กลุ่มผู้ใช้น้ำ 2.ถางหญ้าตามแนวคันคลองส่งน้ำ 4.ช่วยถอดเคลื่อนย้ายและต่อท่อยางส่งน้ำ 5.ซ่อมแซมปรับปรุงดินคันคลองส่งน้ำในส่วนที่ชำรุดเสียหายจากการชะล้างของฝน และการเยียบย่ำของคน

หน้าที่ความรับผิดชอบ คณะกรรมการบริหารกิจการสถานีสูบน้ำ โครงการชลประทานหนองคาย Royal Irrigation Department กรมชลประทาน หน้าที่ความรับผิดชอบ คณะกรรมการบริหารกิจการสถานีสูบน้ำ 1. บริหารกิจการสถานีสูบน้ำให้เป็นไปตามข้อบังคับให้เกิดความก้าวหน้าและบริการประชาชนได้อย่างทั่วถึง 2. การพิจารณาอนุญาตหรืองดจ่ายน้ำให้แก่สมาชิก โดยคำนึงถึงประโยชน์ของกิจการสถานีสูบน้ำเป็นหลัก 3. สำรวจรังวัดพื้นที่ทำการเกษตรของสมาชิกผู้ใช้น้ำ 4. ตรวจสอบการใช้น้ำของสมาชิกให้เป็นไปตามข้อบังคับ 5. เก็บเงินค่าใช้น้ำ ค่าธรรมเนียม ค่าบริการอื่นๆ 6. ดูแลและบำรุงรักษาคลองส่งน้ำให้ใช้งานได้ดีอยู่เสมอ 7. รับ คำขอ คำร้อง ของสมาชิกผู้ใช้น้ำ 8. ประสานงานกับพนักงานสูบน้ำ ในการเปิด – ปิด น้ำ 9. เก็บรักษาเงินของกิจการสูบน้ำ 10. หน้าที่อื่นๆ

การคิดเงินค่ากระแสไฟฟ้าในการสูบน้ำปัจจุบัน โครงการชลประทานหนองคาย Royal Irrigation Department กรมชลประทาน การคิดเงินค่ากระแสไฟฟ้าในการสูบน้ำปัจจุบัน 1. กฟภ. คิดค่าไฟฟ้า Unit ละ = 1.7968 บาท 2. พพ.เรียกเก็บจากราษฎร Unit ละ = 0.60 บาท 3. ส่วนที่ พพ. จ่าย Unit ละ 1.7968 - 0.60 บาท = 1.1968 บาท 4. ค่าต้นทุนการผลิต (จะเปลี่ยนแปลงไปตามราคาน้ำมัน) Unit ละ = 0.2444 บาท 5. รวมเงินค่าไฟฟ้าที่ต้องจ่ายให้ กฟภ.(พพ.+ราษฎร) Unit ละ( 2+3+4) = 2.0412 บาท 6. จ่ายค่าภาษีมูลค่าเพิ่ม(Vat) ให้ กฟภ. อีก Unit ละ 7% (2.0412X0.07) = 0.1429 บาท 7. รวมต้องจ่ายค่าไฟฟ้าให้ กฟภ. (พพ.+ราษฎร) Unit ละ (5+6) = 2.1841 บาท 8. ฉะนั้นจะเป็นค่าไฟฟ้าส่วนที่ พพ.ต้องจ่าย(ไม่รวมค่า Loss)(2.1841-0.60) = 1.5841 บาท หมายเหตุ : ทั้งนี้ยังไม่รวมค่า Lossในหม้อแปลงไฟฟ้าของแต่ละสถานี ซึ่งมีจำนวนไม่เท่ากัน

อัตรากำลัง นายสมชาย ขวัญนนท์เดิม นายช่างชลประทาน ระดับชำนาญงาน นายสมชาย ขวัญนนท์เดิม นายช่างชลประทาน ระดับชำนาญงาน นายสมหวัง กุลเสน ช่างฝีมือโรงงานระดับ 1 นายพิทักษ์ กุลเสน ช่างฝีมือโรงงานระดับ 1 นายจิตร แก่นมา ยาม