กฎ ก.พ. เรื่อง การจัดประเภทตำแหน่งและระดับตำแหน่ง (มาตรา 46)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การกำหนดโครงสร้าง ตาม ว 108 (ว 1)
Advertisements

การจัดทำกรอบอัตรากำลัง ประจำปีงบประมาณ
สำนักงานตรวจสอบภายใน มหาวิทยาลัยขอนแก่น
อำนาจหน้าที่ของสภามหาวิทยาลัย เป็นไปตาม ตามมาตรา 16 แห่งพระราชบัญญัติ มหาวิทยาลัยขอนแก่น พ. ศ
การปกครองท้องถิ่นไทยในปัจจุบัน
หลักการสำคัญ ในการปรับปรุงกฎหมาย ว่าด้วยระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน
เอกสารประกอบการบรรยาย เรื่อง การประเมินบุคคล
โดย นายโอภาส เขียววิชัย ที่ปรึกษาด้านระบบบริหาร
การเตรียมความพร้อมของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในการปรับเปลี่ยนข้าราชการ
ข้อเสนอ แนวทางการกำหนดระยะเวลาดำรงตำแหน่ง
เป็นการย้ายข้าราชการไปแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งในระดับที่ต่ำกว่าเดิม
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยพนักงานราชการ พ.ศ. 2547
การสั่งให้ข้าราชการที่ดำรงตำแหน่งในระดับควบตำแหน่งเลขที่หนึ่งไปแต่งตั้ง
พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2551
สาระสำคัญของหนังสือเวียน ว 10/2548 การประเมินบุคคลเพื่อแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งสำหรับผู้ปฏิบัติงานที่มีประสบการณ์ (ตำแหน่งประเภททั่วไป)และตำแหน่งประเภทวิชาชีพเฉพาะตำแหน่งระดับ.
การชี้แจงบุคลากรทางการศึกษาอื่น ตามมาตรา 38ค.(2) เรื่อง กรอบอัตรากำลัง
ความก้าวหน้าของบุคลากรสายสนับสนุนในสถาบันอุดมศึกษา
การจัดการความรู้ (Knowledge Management)
ประเด็นที่เกี่ยวข้องกับเกณฑ์ฯ
แนวปฏิบัติ การขอกำหนดตำแหน่งให้สูงขึ้น ของบุคลากรสายปฏิบัติการ
การคัดเลือกฯ ตาม ว 28/2547.
กฎ ระเบียบที่เกี่ยวข้อง
การคัดเลือกเพื่อเปลี่ยนสายงาน
นายเลอศักดิ์ ริ้วตระกูลไพบูลย์
การให้ข้าราชการพลเรือนสามัญได้รับ เงินประจำตำแหน่ง
ระบบบริหารผลการปฏิบัติงาน Performance Management System: PMS และ หลักการจัดทำแผนพัฒนารายบุคคล Individual Development Plan : IDP.
เพื่อการกำหนดระดับตำแหน่ง
ที่ปรึกษาด้านระบบบริหาร ณ โรงแรมเจริญธานี ปริ๊นเซส จังหวัดขอนแก่น
แผนการขับเคลื่อนกรอบคุณวุฒิแห่งชาติสู่การปฏิบัติ
การแต่งตั้งข้าราชการ ตามพระราชบัญญัติระเบียบ
ผศ.ดร.กัลยาณี คูณมี ทีมที่ปรึกษาสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
การกำหนดความรู้ความสามารถ ทักษะ และสมรรถนะที่จำเป็นสำหรับตำแหน่ง
การแต่งตั้งข้าราชการ
การประชุมชี้แจงสาระสำคัญของประกาศ คพร.
กรมควบคุมโรค 8 มีนาคม 2554.
กองแผนงานละวิชาการ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
สป.สธ.ซักซ้อมแนวทางการดำเนินการ ด้านการบริหารงานบุคคล
แนวทางการบริหารตำแหน่ง. สาธารณสุขอำเภอ และผู้อำนวยการ รพ. สต
การจัดคนลงตำแหน่งตาม พรบ.ใหม่
(ก.พ. ที่ นร /ว 8 ลงวันที่ 28 เมษายน 2554)
การระบุตำแหน่ง ตาม พรบ. ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551
การลดขั้นตอนและระยะเวลาการปฏิบัติราชการ และการพิจารณาให้รางวัลคุณภาพ
ระบบการกำหนดตำแหน่ง:เปรียบเทียบโครงสร้างตำแหน่ง
การปรับปรุงอัตรากรมแพทย์ทหารเรือ
โดย วัชรินทร์ จำปี รองเลขาธิการ กศน.
ให้ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ผู้อำนวยการชำนาญการพิเศษ
แนวทางการวางแผนและจัดสรรอัตรากำลังสถาบันอุดมศึกษา
คุณอยู่ตรงไหน? และจะก้าวหน้าอย่างไร? (วันนี้ขอเฉลยเฉพาะความก้าวหน้า
เอกสารประกอบการชี้แจง ปลัดกระทรวงสาธารณสุข(นายแพทย์ไพจิตร์ วราชิต)
การปฐมนิเทศข้าราชการกรมประชาสัมพันธ์
มิติใหม่ของการบริหารจัดการภาครัฐ
การจัดตำแหน่งประเภท เจ้าหน้าที่บริหาร......
การประเมินผลการปฏิบัติราชการตามหลักเกณฑ์ และวิธีการที่ ก. พ
หลักเกณฑ์การจัดตำแหน่ง ตามโครงสร้างส่วนราชการใหม่
การเลื่อนตำแหน่งสายสนับสนุน
การบริหารงานบุคลากร ภาครัฐแนวใหม่
ทิศทางร่างพระราชบัญญัติ ระเบียบบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น
สำนักงาน ก.พ. ที่ นร ๑๐๑๒/ว ๒๐ ถนนพิษณุโลก กทม. ๑๐๓๐๐ ๓ กันยายน ๒๕๕๒
บทบาทนายหมายเลข ๑ ผู้บังคับบัญชา ผู้บริหาร ผู้นำ ผู้ประสานงาน.
การบรรจุแต่งตั้ง ข้าราชการ
การบริหารกำลังคนภาครัฐ
หลักเกณฑ์การสอบคัดเลือก หรือคัดเลือก
ผู้มีอำนาจในการแต่งตั้ง
หมวด 5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
การกำหนดอัตราเงินเดือน สำหรับคุณวุฒิที่ ก.พ.รับรอง
เป็นผู้พิจารณากำหนดตำแหน่ง ตามหลักเกณฑ์ และเงื่อนไข ที่ ก.พ. กำหนด
การประเมินบุคคลและผลงานเพื่อแต่งตั้ง ให้ดำรงตำแหน่งนายแพทย์เชี่ยวชาญ (ด้านเวชกรรม สาขา )
โครงการอบรมสร้างเสริมประสบการณ์บุคลากร รพ. สต
การย้ายและการเลื่อนระดับตำแหน่ง ใน และ ระหว่าง ประเภทตำแหน่ง
ปัญหาการแต่งตั้งข้าราชการ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

กฎ ก.พ. เรื่อง การจัดประเภทตำแหน่งและระดับตำแหน่ง (มาตรา 46) กฎ ก.พ. เรื่อง การจัดประเภทตำแหน่งและระดับตำแหน่ง (มาตรา 46) ศูนย์บริหารการปรับเปลี่ยนระบบบริหารทรัพยากรบุคคล สำนักงาน ก.พ. 16 กรกฎาคม 2551

ที่มา พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551 มาตรา 45 กำหนดให้ตำแหน่งข้าราชการพลเรือนสามัญมี 4 ประเภท คือ ประเภท บริหาร ประเภท อำนวยการ ประเภท วิชาการ ประเภท ทั่วไป และมาตรา 46 ได้มีการจัดระดับตำแหน่งไว้ในแต่ละประเภทตำแหน่ง ซึ่งวรรคท้าย ได้บัญญัติเกี่ยวกับการจัดประเภทตำแหน่งและระดับตำแหน่ง ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ ที่กำหนดใน กฎ ก.พ.

ร่างต้นแบบแนวคิดในการจัดทำ... ลักษณะงาน ร่างต้นแบบแนวคิดในการจัดทำ... ประเภทตำแหน่ง (วิชาการ) สายงาน จัดทำมาตรฐาน กำหนดตำแหน่ง Grade Description ระดับชำนาญการพิเศษ จัดตำแหน่งประเภทเดียวกัน และสายงานเดียวกันที่คุณภาพ ของงานเท่ากันเป็นระดับเดียวกัน แนวคิดพื้นฐานจาก มาตรา 48 ที่ให้ ก.พ. จัดทำมาตรฐานกำหนดตำแหน่ง โดยจำแนกตำแหน่ง เป็นประเภทและสายงานตามลักษณะงาน และจัดตำแหน่งในประเภทเดียวกันและสายงานเดียวกัน ที่คุณภาพของงานเท่ากันโดยประมาณเป็นระดับเดียวกัน ...

หลักการ มีบรรทัดฐาน ครอบคลุม ปรับเปลี่ยนง่าย ครอบคลุมทุกลักษณะงานในราชการพลเรือน 19 กระทรวง โดยสามารถจำแนกความแตกต่างได้ชัดเจน เดิมกำหนดไว้ใน มาตรา 42 พ.ร.บ. ข้าราชการพลเรือน 2535 ทำให้ปรับเปลี่ยนได้ยาก เป็นบรรทัดฐานใช้เทียบเคียงในการกำหนดตำแหน่ง

แนวความคิด กำหนดตามข้อเท็จจริงรูปแบบการจัดส่วนราชการ สอดคล้อง พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน กำหนดระดับตำแหน่งตามค่างานปัจจุบัน ระบุและอ้างอิงตำแหน่งหลักที่ใช้เป็นบรรทัดฐานเทียบเคียง สามารถจัดตำแหน่งที่มีอยู่ประเภทและระดับตำแหน่งได้ ทั้งหมด

ตำแหน่งประเภทบริหาร

ลักษณะงานของตำแหน่งประเภทบริหาร ตำแหน่งรองอธิบดี, รองผู้ว่าราชการจังหวัด, หรือเทียบเท่า บริหารระดับสูง บริหารระดับต้น ปลัดกระทรวง, รองปลัดกระทรวง, อธิบดี, ผู้ว่าราชการจังหวัด, เอกอัครราชทูต, ผู้ตรวจราชการ ระดับกระทรวง, หรือเทียบเท่า สายงานในตำแหน่งประเภทบริหาร บริหาร บริหารงานทูต บริหารงานปกครอง ตรวจราชการ ตำแหน่งประเภทบริหาร หมายถึง ตำแหน่งในฐานะผู้บริหารของส่วนราชการระดับกรมขึ้นไปทั้งในส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค และในต่างประเทศ จำแนกเป็น ๒ ระดับ โดยจำแนกตำแหน่งตามโครงสร้างหน่วยงาน (Organisation Classification) (พิจารณาจากเอกสารร่างกฎ ก.พ. ตามมาตรา 46 เพิ่มเติม) 7

ตำแหน่งประเภทอำนวยการ

ลักษณะงานของตำแหน่งประเภทอำนวยการ อำนวยการระดับสูง อำนวยการระดับต้น ตำแหน่งหัวหน้าหน่วยงานที่มีการจัดการ ซึ่งเป็นงานที่มีหน้าที่ความรับผิดชอบ ความยุ่งยาก และคุณภาพของงานสูงมากเป็นพิเศษ โดยเป็นตำแหน่งที่มีอำนาจหน้าที่รองจากหัวหน้าส่วนราชการ ตำแหน่งหัวหน้าหน่วยงานที่มีการจัดการ ซึ่งเป็นงานมีหน้าที่ความรับผิดชอบ ความยุ่งยาก และคุณภาพของงานสูงมาก โดยเป็นตำแหน่งที่มีอำนาจหน้าที่รองจากหัวหน้าส่วนราชการ ผู้อำนวยการ... ผู้อำนวยการ... ตำแหน่งประเภทอำนวยการ หมายถึง ตำแหน่งในฐานะหัวหน้าหน่วยงานระดับต่ำกว่าระดับกรมที่ปรากฏในกฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการ

ตำแหน่งประเภทวิชาการ

ลักษณะงานของตำแหน่งประเภทวิชาการ วิชาชีพเฉพาะ วิชาการ/ปฏิบัติการ หัวหน้าหน่วยงาน ที่ปรึกษา เชี่ยวชาญและได้รับ การยอมรับ ชช. ด้านวิชาการ ระดับกระทรวง ที่ปรึกษาระดับ กระทรวง กรม ระดับทรงคุณวุฒิ เชี่ยวชาญใน งานสูงมาก ชช. ด้านวิชาการ ระดับกรม ที่ปรึกษาระดับ กรม ระดับเชี่ยวชาญ ระดับชำนาญการ พิเศษ ชำนาญการ ในงานสูงมาก ปฏิบัติงานวิชาการ (รอบรู้ ชำนาญงาน งานที่ยากซับซ้อน) หัวหน้าหน่วยงาน (งานปฏิบัติการ หรือวิชาการ) มีประสบการณ์ ปฏิบัติงานวิชาการ (มีประสบการณ์) หัวหน้าหน่วยงาน (งานปฏิบัติการ หรือวิชาการ) ระดับชำนาญการ ตำแหน่งแรกบรรจุ ระดับปฏิบัติการ 11

ตำแหน่งประเภททั่วไป

ลักษณะงานของตำแหน่งประเภททั่วไป บริการใน สายงานหลัก (มีประสบการณ์) ทักษะพิเศษ ทักษะความ สามารถเฉพาะ (สูงมากเป็นพิเศษ) อาวุโส หัวหน้า หน่วยงาน ขนาดใหญ่ ทักษะความ สามารถเฉพาะ (สูงมาก) เทคนิค เฉพาะด้าน (สูงมาก) ชำนาญงาน หัวหน้า หน่วยงาน ระดับต้น ทักษะความ สามารถเฉพาะ (มีประสบการณ์) เทคนิค เฉพาะด้าน (มีประสบการณ์) บริการใน สายงานหลัก (มีประสบการณ์) บริการ สนับสนุน (มีประสบการณ์) ปฏิบัติงาน ตำแหน่งแรกบรรจุ 13