งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2551

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2551"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การประเมินค่างาน ตามแนวทางของระบบจำแนกตำแหน่ง ตามพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2551

2 พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2551
มาตรา 47 กระจาย อำนาจ การ กำหนด ตำแหน่ง ตำแหน่งข้าราชการพลเรือนสามัญจะมีในส่วนราชการใด จำนวนเท่าใด และเป็นตำแหน่งประเภทใด สายงานใด ระดับใด ให้เป็นไปตามที่ อ.ก.พ. กระทรวงกำหนด โดยต้องคำนึงถึงประสิทธิภาพ ประสิทธิผล ความไม่ซ้ำซ้อนและประหยัดเป็นหลัก ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์และเงื่อนไขที่ ก.พ. กำหนด และต้องเป็นไปตามมาตรฐานกำหนดตำแหน่งตามมาตรา 48

3 เนื้อหา ความหมายของการประเมินค่างาน
หลักการและแนวคิดของการประเมินค่างาน

4 การประเมินค่างาน JOB EVALUATION

5 ความหมายของการประเมินค่างาน
“ การประเมินค่างาน เป็นวิธีการดำเนินการอย่างเป็นระบบ เพื่อตีค่างาน โดยเป็นกระบวนการวัดความสัมพันธ์หรือคุณค่างาน ของตำแหน่ง ที่ไม่ใช่วัดปริมาณงาน ซึ่งเป็นการนำงานทั้งหมด มาเปรียบเทียบกันภายใต้ปัจจัยหรือองค์ประกอบที่เป็นตัววัดหลัก เพื่อตีค่างานออกมา ”

6 ทำไมต้องมีการประเมินค่างาน ในบริบทของภาคราชการพลเรือนไทย
เพื่อให้การกำหนดระดับตำแหน่งใน ภาคราชการพลเรือนมีมาตรฐาน เป็นธรรม และไม่เหลื่อมล้ำกันระหว่างส่วนราชการ

7 เมื่อไหร่ต้องมีการประเมินค่างาน
1 มีการกำหนดตำแหน่งขึ้นใหม่ในหน่วยงาน 2 หน้าที่ความรับผิดชอบและคุณภาพงานของตำแหน่งเปลี่ยนไป

8 ข้อมูล เกี่ยวกับงาน JD
กระบวนการประเมินค่างาน วิเคราะห์งาน JA ข้อมูล เกี่ยวกับงาน JD วิธีการ JE วินิจฉัย ตีค่างาน กำหนด ระดับ ตำแหน่ง ยอมรับได้ Acceptable มีความยุติธรรม Felt-Fair

9 หลักการประเมินค่างาน
1 ต้องเข้าใจงาน - ต้องมีการวิเคราะห์งาน 2 ประเมินที่งาน - มิใช่ตัวบุคคลที่ครองตำแหน่ง 3 มีมาตรฐาน - ต้องสะท้อนกับงานปัจจุบันและสอดคล้องกับระดับตำแหน่ง 4 ไม่มีอคติ – เก็บข้อมูล วิเคราะห์และตีค่างานอย่างเป็นธรรม 5 ตรวจสอบให้แน่ใจ - ตรวจสอบความสัมพันธ์ทั้งแนวนอนและแนวดิ่ง

10 ขั้นตอนการประเมินค่างาน
ขั้นศึกษา ขั้นวิเคราะห์ข้อมูล ขั้นนำเสนอ


ดาวน์โหลด ppt พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2551

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google