ข้อคิดเห็นผู้ประเมินภายนอก ระดับอุดมศึกษาต่อ มาตรฐานของสมศ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การเตรียมความพร้อมในการเสนอโครงการภายใต้แผนปฏิบัติการฯในระดับจังหวัด
Advertisements

การติดตามและประเมินผล ของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
1 การประเมินคุณภาพ ภายใน ประจำปีการศึกษา 2550 หน่วยงานจัดการเรียนการสอน โดย คณะกรรมการประเมิน คุณภาพภายใน หน่วยงาน
ระบบประกันคุณภาพคณะวิทยาศาสตร์
ระบบการประเมินเพื่อพัฒนาผลการปฏิบัติงาน บุคลากรสายสนับสนุน
Graduate School Khon Kaen University
การจัดทำรายงานประจำปี มหาวิทยาลัยขอนแก่น
ตัวบ่งชี้คุณภาพ สำนักงานอธิการบดี
รายงาน ผลการประเมินคุณภาพ ประจำปี 2553
การปฏิบัติและจัดการงาน ให้มีประสิทธิภาพ
เพื่อรับการประเมินภายนอก
การจัดเก็บข้อมูลตามตัวบ่งชี้ สกอ. และ สมศ.
ที่มาของระบบควบคุมภายใน
ผลการประเมินคุณภาพภายใน ภาควิชา คณะวิศวกรรมศาสตร์
การประกันคุณภาพการศึกษา
การศึกษาดูงานในประเทศ และต่างประเทศ
คณาจารย์ระดับอุดมศึกษา รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์ มสธ.
แนวทางการปฏิบัติงานด้านประกันคุณภาพการศึกษา
นายชยันต์ หิรัญพันธุ์
รายงานผลทางวาจา การประเมินคุณภาพการศึกษาภายในระดับสถาบัน มหาวิทยาลัยพายัพ วันที่ 5-7 กันยายน 2551.
นโยบายการประกันคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยพายัพ
การปรับปรุงโครงสร้างภายในกองพัสดุ เสนอที่ประชุม
รูปแบบการนำเสนอ หน่วยงาน
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย
ภาพรวมแผนผังเชิงกลยุทธ์ (Strategy Map)
การประชุมคณะกรรมการพัฒนาตัวบ่งชี้เพื่อการ
CHE QA ONLINE ประชุมชี้แจงการปรับปรุงและ การใช้ระบบฐานข้อมูลด้านการ ประกันคุณภาพการศึกษา ระดับอุดมศึกษา 28 ก. ค
การประเมินคุณภาพภายในกอง แผนงาน ประจำปีการศึกษา 2551 วันที่ 20 กรกฎาคม 2552 โดย คณะกรรมการประเมินคุณภาพภายใน.
และข้อมูลระดับภาควิชา (SAR – II)
การนำระบบPDCAการประกันคุณภาพ การศึกษาไปประยุกต์ใช้ในกิจกรรมของนิสิต
การเขียนรายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report : SAR)
การวางแผนและ การจัดทำ IT Audit
1. การดำเนินงานในรูปแบบคณะกรรมการ/คณะทำงาน
กลุ่มโภชนาการประยุกต์
มิติที่ 4 ด้านการพัฒนาองค์กร
การประกันคุณภาพการศึกษา ภายในมหาวิทยาลัย/คณะ
แนวทางการจัดทำมาตรฐานความโปร่งใสของกรมควบคุมโรค ปีงบประมาณ พ.ศ.2557
องค์กรนำการปศุสัตว์ไทย
1 การประเมิน คุณภาพภายใน ประจำปีการศึกษา 2550 โดย คณะกรรมการประเมิน คุณภาพภายใน เขตการศึกษา วันที่
การประเมินคุณภาพภายใน ประจำปีการศึกษา 2550 หน่วยงานสนับสนุน
ตาม พ.ร.บ. การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542
โดย วัชรินทร์ จำปี รองเลขาธิการ กศน.
ทิศทางการพัฒนาวิทยาเขตขอนแก่น
การติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา
ระบบและกลไก การดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษาในกลุ่มนักศึกษา วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จังหวัดขอนแก่น LOGO.
แนวปฏิบัติในการดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา
Assignment : หลักการการวิจัยการจัดการความรู้ ชื่อหัวข้อวิจัย
บทสรุปสำหรับผู้บริหาร Executive Summary
การประกันคุณภาพ QUALITY ASSURANCE
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การบรรยายความรู้เรื่องการประกันคุณภาพการศึกษา
คำนิยามและขั้นตอนการเสนอหลักสูตร ระดับบัณฑิตศึกษา
การจัดการความรู้ ศูนย์นิติวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
การบรรยายเรื่องการประกันคุณภาพการศึกษา สำหรับนักศึกษาคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 13 มิถุนายน 2547.
การประกันคุณภาพ (Quality Assurance : QA)
แนวทางการจัดทำ SAR การเตรียมข้อมูล รูปแบบรายงาน การนำเสนอ.
KM-QA งานประกันคุณภาพการศึกษา ขอนำเสนอ สาระสำคัญของ
การเขียนรายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report : SAR)
แล การ นิ เทศงานและการ แก้ ไขปัญหา ในงานสหกิจศึกษา การ นิ เทศงานและการ แก้ ไขปัญหา ในงานสหกิจศึกษา ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. อัจฉราพร โชติพฤกษ์ ผู้อำนวยการกลุ่มงานมาตรฐานและบริการการศึกษา.
คำนึง อุยตระกูล กศน.อำเภอบ้านไผ่
ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ โดย ผู้อำนวยการกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
เทคนิคการรวบรวมข้อมูล
สังกัดสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน จังหวัดอุดรธานี
ประชุมคณาจารย์คณะครุศาสตร์ วันพฤหัสบดีที่ 19 มิถุนายน 2557
สำหรับโรงเรียนจัดตั้งใหม่ให้พิจารณาตามความต่อเนื่อง
รายละเอียดของระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน
สรุปประเด็น เป้าหมายการทำงาน – ภารกิจ 5 ด้านตาม NHA
แนวปฏิบัติที่ดีของ การประกันคุณภาพ การศึกษา. ที่องค์ประกอบ ผลการประเมิน ปี 52 ปี 53 ปี 54 1 ปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงค์ และแผน ดำเนินการ
โครงการจัดตั้ง กองแผนงาน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ข้อคิดเห็นผู้ประเมินภายนอก ระดับอุดมศึกษาต่อ มาตรฐานของสมศ โดย รศ.ดำรงค์ ทวีแสงสกุลไทย

กรอบแนวทางการประเมินคุณภาพภายนอกระดับอุดมศึกษา สมศ. กรอบแนวทางการประเมินคุณภาพภายนอกระดับอุดมศึกษา

การประเมินคุณภาพภายนอก การประกันคุณภาพภายใน แผนภูมิที่ 1 ความสัมพันธ์ระหว่างการประกันคุณภาพภายในกับการประเมินคุณภาพภายนอก การประเมินคุณภาพภายนอก การประกันคุณภาพภายใน การปฏิบัติงาน ของสถาบัน การประเมินตนเอง ของสถาบัน รายงาน ประจำปี รายงานผล การประเมิน การตรวจเยี่ยม การติดตามผล ข้อมูล ป้อนกลับ ข้อมูล ป้อนกลับ

สมศ. : คณะกรรมการพัฒนาระบบฯระดับอุดมศึกษา (กพอ.) แผนภูมิที่ 2 ความสัมพันธ์ระหว่างองค์กรที่มีบทบาทในการประกันคุณภาพภายใน และการประเมินคุณภาพภายนอก หน่วยงานต้นสังกัด - ส.ก.อ. - กระทรวงศึกษาธิการ - กระทรวงอื่น ๆ สมศ. : คณะกรรมการพัฒนาระบบฯระดับอุดมศึกษา (กพอ.) - ให้การรับรองผู้ประเมินภายนอก - ส่งเสริมสนับสนุนการประกันคุณภาพภายใน - ศึกษารายงานประจำปีของสถาบัน - ศึกษาเอกสารหลักฐานข้อมูล - ประเมินภายนอก (ตรวจเยี่ยม ) - จัดทำข้อมูลเสนอแนะในการปรับปรุง - พัฒนาระบบและกลไกการประกันคุณภาพ - เตรียมพร้อมรับการประเมินภายนอก - พัฒนาฐานข้อมูลในด้านต่าง ๆ ฯลฯ A

- คณะ สถาบัน สำนัก ศูนย์/หน่วยงาน เทียบเท่า A สถาบันอุดมศึกษา - คณะ สถาบัน สำนัก ศูนย์/หน่วยงาน เทียบเท่า - ภาควิชา / หน่วยงานเทียบเท่า - ดำเนินการตามภารกิจให้มีคุณภาพ - จัดให้มีระบบการประกันคุณภาพภายใน - จัดทำรายงานประจำปี - ให้ความร่วมมือในการจัดเตรียมเอกสาร หลักฐานข้อมูลเพื่อการประเมินภายนอก

ขั้นตอนที่ 1 ก่อนการตรวจเยี่ยมสถาบันอุดมศึกษา ศึกษาข้อมูล (7-15 วัน) - รายงานประจำปี - ข้อมูลตามมาตรฐานและตัวบ่งชี้ - เอกสารหลักฐาน ข้อมูลอื่นๆทีเกี่ยวข้อง คณะผู้ประเมิน (ทำกำหนดการประเมิน 7วัน หลังการทำสัญญา) นัดวันตรวจเยี่ยม (แจ้งสถาบันล่วงหน้า 15 วัน) กำหนดขอบเขตการประเมิน ศึกษาวิเคราะห์ข้อมูล

ขั้นตอนที่ 2 ระหว่างการตรวจเยี่ยมสถาบันอุดมศึกษา ขั้นตอนที่ 2 ระหว่างการตรวจเยี่ยมสถาบันอุดมศึกษา ดำเนินการ -สังเกต -สัมภาษณ์ -ตรวจสอบเอกสารหลักฐานข้อมูล ประชุมชี้แจงแก่บุคลากรของสถาบัน ผู้ประเมินประเมินสถาบัน (3-5 วัน) นำเสนอข้อสังเกตต่อผู้บริหาร วิเคราะห์ สรุป

ขั้นตอนที่ 3 หลังการตรวจเยี่ยมสถาบันอุดมศึกษา ขั้นตอนที่ 3 หลังการตรวจเยี่ยมสถาบันอุดมศึกษา เขียนรายงาน(หลังการตรวจเยี่ยม 15 วัน) ปรับแก้รายงาน (7 วัน ) ส่งให้สถาบันตรวจสอบโต้แย้ง (7 วัน) ครม. รมต. รมต กท. ศธ. ส่ง สมศ. รายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษา ประจำปี สำนักงบประมาณ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง สาธารณชน

มาตรฐานและตัวบ่งชี้สำหรับการประเมินคุณภาพภายนอกระดับอุดมศึกษา ประกอบด้วย 8 มาตรฐาน 28 ตัวบ่งชี้ ดังนี้ มาตรฐานที่ 1 มาตรฐานด้านคุณภาพบัณฑิต ( 1.1 , 1.2 , 1.3 , 1.4) มาตรฐานที่ 2 มาตรฐานด้านการเรียนรู้ ( 2.1 , 2.2 , 2.3 , 2.4 ) มาตรฐานที่ 3 มาตรฐานด้านการสนับสนุนการเรียนรู้ ( 3.1 , 3.2 , 3.3 , 3.4 , 3.5 )

มาตรฐานที่ 4 มาตรฐานด้านการวิจัยและงานสร้างสรรค์ ( 4. 1 , 4. 2 , 4 มาตรฐานที่ 4 มาตรฐานด้านการวิจัยและงานสร้างสรรค์ ( 4.1 , 4.2 , 4.3 , 4.4 ) มาตรฐานที่ 5 มาตรฐานด้านการบริการวิชาการ ( 5.1 , 5.2 ) มาตรฐานที่ 6 มาตรฐานด้านการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม ( 6.1 , 6.2 ) มาตรฐานที่ 7 มาตรฐานด้านการบริหารจัดการ ( 7.1 , 7.2 , 7.3 , 7.4 , 7.5 ) มาตรฐานที่ 8 มาตรฐานด้านระบบการประกันคุณภาพภายใน ( 8.1 , 8.2 )

การเตรียมพร้อมรับการตรวจขององค์กร จาก สมศ. (12 ข้อ)

1. QMR เตรียมข้อมูลดังนี้ 1.2 SAR/SAC 1.3 28 ตัวบ่งชี้ขององค์กร 2. คณบดี/ผู้อำนวยการ ประชุมบุคลากรภายในเพื่อพร้อมรับการตรวจฯ 3. เตรียมนำเสนอ(Presentation)ภาพรวมขององค์กร ดังนี้ 3.4 จุดเด่นของภารกิจต่างๆ 3.5 ข้อควรปรับปรุงขององค์กร 3.6 เปรียบเทียบ SAR ขององค์กรกับ ตัวบ่งชี้ สมศ. 3.1 ปรัชญา/วิสัยทัศน์ 3.2 โครงสร้างบริหาร 3.3 ภารกิจหลัก

7. กำกับดูแลอาคารสถานที่ สาธารณูปโภคให้เรียบร้อย 4. คณบดี/ผู้อำนวยการ/ฝ่ายบริหาร เตรียมตอบข้อซักถามขององค์กร 5. จัดบุคลากรสาย ข สาย ค และนิสิตในสังกัด เพื่อพร้อมรับการสัมภาษณ์ 6. ติดต่อผู้ประกอบการภายนอก ผู้ใช้บริการ ฯลฯ เพื่อพร้อมรับการสัมภาษณ์ 7. กำกับดูแลอาคารสถานที่ สาธารณูปโภคให้เรียบร้อย 8. สร้างบรรยากาศสภาพปกติวิสัย

9. เตรียมบุคลากร ประสานงานจัดหาข้อมูลเพิ่มเติม เมื่อได้รับการร้องขอ 10. QMR/ผู้ประสานงาน ติดต่อขอข้อมูลต่างๆได้จาก จนท.ส่วนประกันคุณภาพ 11. หากข้อมูลใดไม่ตรงกันหรือผิดพลาด จัดทำบันทึกเสนอขอแก้ไข หลังการตรวจเยี่ยม 12. มีความเป็นกัลยาณมิตร และเป็นเจ้าบ้านที่มีอัธยาศัยดี

ตอบข้อซักถาม การเตรียมความพร้อม ของหน่วยงานต่างๆ