ข้อคิดเห็นผู้ประเมินภายนอก ระดับอุดมศึกษาต่อ มาตรฐานของสมศ โดย รศ.ดำรงค์ ทวีแสงสกุลไทย
กรอบแนวทางการประเมินคุณภาพภายนอกระดับอุดมศึกษา สมศ. กรอบแนวทางการประเมินคุณภาพภายนอกระดับอุดมศึกษา
การประเมินคุณภาพภายนอก การประกันคุณภาพภายใน แผนภูมิที่ 1 ความสัมพันธ์ระหว่างการประกันคุณภาพภายในกับการประเมินคุณภาพภายนอก การประเมินคุณภาพภายนอก การประกันคุณภาพภายใน การปฏิบัติงาน ของสถาบัน การประเมินตนเอง ของสถาบัน รายงาน ประจำปี รายงานผล การประเมิน การตรวจเยี่ยม การติดตามผล ข้อมูล ป้อนกลับ ข้อมูล ป้อนกลับ
สมศ. : คณะกรรมการพัฒนาระบบฯระดับอุดมศึกษา (กพอ.) แผนภูมิที่ 2 ความสัมพันธ์ระหว่างองค์กรที่มีบทบาทในการประกันคุณภาพภายใน และการประเมินคุณภาพภายนอก หน่วยงานต้นสังกัด - ส.ก.อ. - กระทรวงศึกษาธิการ - กระทรวงอื่น ๆ สมศ. : คณะกรรมการพัฒนาระบบฯระดับอุดมศึกษา (กพอ.) - ให้การรับรองผู้ประเมินภายนอก - ส่งเสริมสนับสนุนการประกันคุณภาพภายใน - ศึกษารายงานประจำปีของสถาบัน - ศึกษาเอกสารหลักฐานข้อมูล - ประเมินภายนอก (ตรวจเยี่ยม ) - จัดทำข้อมูลเสนอแนะในการปรับปรุง - พัฒนาระบบและกลไกการประกันคุณภาพ - เตรียมพร้อมรับการประเมินภายนอก - พัฒนาฐานข้อมูลในด้านต่าง ๆ ฯลฯ A
- คณะ สถาบัน สำนัก ศูนย์/หน่วยงาน เทียบเท่า A สถาบันอุดมศึกษา - คณะ สถาบัน สำนัก ศูนย์/หน่วยงาน เทียบเท่า - ภาควิชา / หน่วยงานเทียบเท่า - ดำเนินการตามภารกิจให้มีคุณภาพ - จัดให้มีระบบการประกันคุณภาพภายใน - จัดทำรายงานประจำปี - ให้ความร่วมมือในการจัดเตรียมเอกสาร หลักฐานข้อมูลเพื่อการประเมินภายนอก
ขั้นตอนที่ 1 ก่อนการตรวจเยี่ยมสถาบันอุดมศึกษา ศึกษาข้อมูล (7-15 วัน) - รายงานประจำปี - ข้อมูลตามมาตรฐานและตัวบ่งชี้ - เอกสารหลักฐาน ข้อมูลอื่นๆทีเกี่ยวข้อง คณะผู้ประเมิน (ทำกำหนดการประเมิน 7วัน หลังการทำสัญญา) นัดวันตรวจเยี่ยม (แจ้งสถาบันล่วงหน้า 15 วัน) กำหนดขอบเขตการประเมิน ศึกษาวิเคราะห์ข้อมูล
ขั้นตอนที่ 2 ระหว่างการตรวจเยี่ยมสถาบันอุดมศึกษา ขั้นตอนที่ 2 ระหว่างการตรวจเยี่ยมสถาบันอุดมศึกษา ดำเนินการ -สังเกต -สัมภาษณ์ -ตรวจสอบเอกสารหลักฐานข้อมูล ประชุมชี้แจงแก่บุคลากรของสถาบัน ผู้ประเมินประเมินสถาบัน (3-5 วัน) นำเสนอข้อสังเกตต่อผู้บริหาร วิเคราะห์ สรุป
ขั้นตอนที่ 3 หลังการตรวจเยี่ยมสถาบันอุดมศึกษา ขั้นตอนที่ 3 หลังการตรวจเยี่ยมสถาบันอุดมศึกษา เขียนรายงาน(หลังการตรวจเยี่ยม 15 วัน) ปรับแก้รายงาน (7 วัน ) ส่งให้สถาบันตรวจสอบโต้แย้ง (7 วัน) ครม. รมต. รมต กท. ศธ. ส่ง สมศ. รายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษา ประจำปี สำนักงบประมาณ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง สาธารณชน
มาตรฐานและตัวบ่งชี้สำหรับการประเมินคุณภาพภายนอกระดับอุดมศึกษา ประกอบด้วย 8 มาตรฐาน 28 ตัวบ่งชี้ ดังนี้ มาตรฐานที่ 1 มาตรฐานด้านคุณภาพบัณฑิต ( 1.1 , 1.2 , 1.3 , 1.4) มาตรฐานที่ 2 มาตรฐานด้านการเรียนรู้ ( 2.1 , 2.2 , 2.3 , 2.4 ) มาตรฐานที่ 3 มาตรฐานด้านการสนับสนุนการเรียนรู้ ( 3.1 , 3.2 , 3.3 , 3.4 , 3.5 )
มาตรฐานที่ 4 มาตรฐานด้านการวิจัยและงานสร้างสรรค์ ( 4. 1 , 4. 2 , 4 มาตรฐานที่ 4 มาตรฐานด้านการวิจัยและงานสร้างสรรค์ ( 4.1 , 4.2 , 4.3 , 4.4 ) มาตรฐานที่ 5 มาตรฐานด้านการบริการวิชาการ ( 5.1 , 5.2 ) มาตรฐานที่ 6 มาตรฐานด้านการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม ( 6.1 , 6.2 ) มาตรฐานที่ 7 มาตรฐานด้านการบริหารจัดการ ( 7.1 , 7.2 , 7.3 , 7.4 , 7.5 ) มาตรฐานที่ 8 มาตรฐานด้านระบบการประกันคุณภาพภายใน ( 8.1 , 8.2 )
การเตรียมพร้อมรับการตรวจขององค์กร จาก สมศ. (12 ข้อ)
1. QMR เตรียมข้อมูลดังนี้ 1.2 SAR/SAC 1.3 28 ตัวบ่งชี้ขององค์กร 2. คณบดี/ผู้อำนวยการ ประชุมบุคลากรภายในเพื่อพร้อมรับการตรวจฯ 3. เตรียมนำเสนอ(Presentation)ภาพรวมขององค์กร ดังนี้ 3.4 จุดเด่นของภารกิจต่างๆ 3.5 ข้อควรปรับปรุงขององค์กร 3.6 เปรียบเทียบ SAR ขององค์กรกับ ตัวบ่งชี้ สมศ. 3.1 ปรัชญา/วิสัยทัศน์ 3.2 โครงสร้างบริหาร 3.3 ภารกิจหลัก
7. กำกับดูแลอาคารสถานที่ สาธารณูปโภคให้เรียบร้อย 4. คณบดี/ผู้อำนวยการ/ฝ่ายบริหาร เตรียมตอบข้อซักถามขององค์กร 5. จัดบุคลากรสาย ข สาย ค และนิสิตในสังกัด เพื่อพร้อมรับการสัมภาษณ์ 6. ติดต่อผู้ประกอบการภายนอก ผู้ใช้บริการ ฯลฯ เพื่อพร้อมรับการสัมภาษณ์ 7. กำกับดูแลอาคารสถานที่ สาธารณูปโภคให้เรียบร้อย 8. สร้างบรรยากาศสภาพปกติวิสัย
9. เตรียมบุคลากร ประสานงานจัดหาข้อมูลเพิ่มเติม เมื่อได้รับการร้องขอ 10. QMR/ผู้ประสานงาน ติดต่อขอข้อมูลต่างๆได้จาก จนท.ส่วนประกันคุณภาพ 11. หากข้อมูลใดไม่ตรงกันหรือผิดพลาด จัดทำบันทึกเสนอขอแก้ไข หลังการตรวจเยี่ยม 12. มีความเป็นกัลยาณมิตร และเป็นเจ้าบ้านที่มีอัธยาศัยดี
ตอบข้อซักถาม การเตรียมความพร้อม ของหน่วยงานต่างๆ