รายงานผลทางวาจา การประเมินคุณภาพการศึกษาภายในระดับสถาบัน มหาวิทยาลัยพายัพ วันที่ 5-7 กันยายน 2551
ผลการประเมินรายตัวบ่งชี้ ตาราง ป 1 ผลการประเมินรายตัวบ่งชี้ของสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา
ตาราง ป 2 ผลการประเมินตามองค์ประกอบคุณภาพ จำนวนตัวบ่งชี้ ผลการประเมิน ปัจจัยนำเข้า กระบวนการ ผลผลิต รวม 1. ปรัชญา ปณิธานวัตถุประสงค์ และแผนการดำเนินการ - 3.00 1.00 2.00 พอใช้ 2. การเรียนการสอน 2.80 2.50 2.25 ดี 3. กิจกรรมการพัฒนานิสิตนักศึกษา 1.50 ยังไม่ได้คุณภาพ 4. การวิจัย 5. การบริการวิชาการแก่สังคม 2.67 2.40 6. การทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม ดีมาก 7. การบริหารและการจัดการ 1.60 1.33 1.44 8. การเงินและงบประมาณ 9. ระบบและกลไกการประกันคุณภาพ 1.17 2.24 2.08 2.03
ตาราง ป 3 ผลการประเมินตามมาตรฐานการอุดมศึกษา ตัวบ่งชี้ด้านปัจจัย นำเข้า ตัวบ่งชี้ด้านกระบวนการ ตัวบ่งชี้ด้านผลผลิตหรือผลลัพธ์ รวม ผลการประเมิน 1. มาตรฐานด้านคุณภาพบัณฑิต (4) - 2.50 ดี 2. มาตรฐานด้านการบริหารจัดการอุดมศึกษา(34) ก. มาตรฐานด้านธรรมาภิบาลของการบริหารการอุดมศึกษา (16) 1.00 2.30 1.60 2.00 พอใช้ ข. มาตรฐานด้านพันธกิจของการบริหารการอุดมศึกษา (18) 1.20 2.44 2.25 2.06 3. มาตรฐานด้านการสร้างและพัฒนาสังคมฐานความรู้ฯ (2) ยังไม่ได้คุณภาพ 1.17 2.24 2.08 2.03
ตาราง ป 4 ผลการประเมินตามมุมมองด้านการบริหารจัดการ ตัวบ่งชี้ด้านปัจจัย นำเข้า ตัวบ่งชี้ด้านกระบวนการ ตัวบ่งชี้ด้านผลผลิตหรือผลลัพธ์ รวม ผลการประเมิน 1. ด้านนักศึกษาและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 1.50 2.17 2.38 2.19 ดี 2. ด้านกระบวนการภายใน - 2.43 2.00 2.30 3. ด้านการเงิน 1.00 2.50 พอใช้ 4. ด้านบุคลากรการเรียนรู้และนวัตกรรม 1.55 1.17 2.24 2.08 2.03 ยังไม่ได้คุณภาพ
การปฏิบัติที่ดี การดำเนินงานและการให้บริการของสำนักหอสมุดมีความทันสมัย การจัดศูนย์ข้อมูลภาคเหนือเป็นแหล่งการเรียนรู้ที่ดี มีสถาบันศาสนา วัฒนธรรมและสันติภาพซึ่งเป็นแหล่งที่ให้แนวคิดหลักแก่สังคมในการแก้ปัญหาความขัดแย้งและการอยู่ร่วมกันอย่างสันติภาพ มีวิทยาลัยดุริยศิลป์ที่เป็นแหล่งเรียนรู้และพัฒนาทางด้านการดนตรีที่เป็นที่ยอมรับ บุคลากรมีความจงรักภักดี และทุ่มเทให้กับมหาวิทยาลัย
ข้อสังเกต มหาวิทยาลัยขยายการดำเนินงานทั้งจำนวนนักศึกษา หลักสูตร และหน่วยงาน จึงควรวิเคราะห์ปัญหาในการดำเนินงานด้านต่างๆ เช่น ระบบการได้มาซึ่งผู้บริหารทุกระดับ ภาระงานของอาจารย์ ภาระงานของผู้บริหาร ระบบการจูงใจ เพื่อให้สามารถรักษาบุคลากรที่มีคุณค่าให้คงอยู่กับมหาวิทยาลัยและดึงดูดคนดีและคนเก่งให้เข้ามาทำงานกับมหาวิทยาลัยได้
ข้อสังเกต (ต่อ) ผู้บริหารระดับสูงมีวิสัยทัศน์ มีความตั้งใจ และทุ่มเทให้กับการปฏิบัติงาน แต่ระบบการสื่อสารยังไม่มีประสิทธิภาพเพียงพอ ที่จะถ่ายทอดให้ผู้บริหารระดับกลาง บุคลากร และนักศึกษาให้มีความเข้าใจตรงกัน การมีส่วนร่วมในการกำหนดทิศทาง เป้าหมาย และแผนการพัฒนามหาวิทยาลัยของบุคลากร และนักศึกษา ควรมุ่งเน้นให้เป็นส่วนสำคัญเพื่อส่งผลต่อการพัฒนาองค์กรในอนาคตอย่างยั่งยืน
ผลประเมินรายองค์ประกอบ