นักวิจัยพี่เลี้ยงที่ดีและหน้าที่ของนักวิจัยพี่เลี้ยง

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
มุ่งพัฒนาสู่การเป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลงในสถานศึกษา
Advertisements

40 ข้อที่ไม่ควรลืม.
การปฏิบัติหน้าที่ของครูที่ปรึกษา
อาจารย์อนุวัตร ธรรมปริพัตรา
ข้อควรคำนึงในการสร้างเครือข่าย
การประชุมชี้แจงระเบียบการโครงการฝึกงาน ปีการศึกษา2550
การบริหารกลุ่มและทีม
นโยบายการบริหารจัดการ สถาบันเอเชียตะวันออกศึกษา
เทคนิคการบริหารงานด้านการเงินและบัญชี
หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการประกันภัย
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
แนะนำบริการสนับสนุนการวิจัย (Researcher Service Support)
วิธีการทางสุขศึกษา.
การรับเข้าศึกษาในสถาบันอุดมศึกษา
พัฒนาการทางสังคมของวัยรุ่น
มาตรฐานและตัวบ่งชี้ คุณภาพชมรมนักศึกษา / ชมรมบัณฑิต มสธ.
คณะผู้วิจัย ภาควิชา คณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
คณาจารย์ระดับอุดมศึกษา รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์ มสธ.
การประชุมใหญ่ คณาจารย์และบุคคลากร คณะบริหารธุรกิจ ประจำปีการศึกษา 2554
ชื่อ-นามสกุล นางนันทา กิจแสวง ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป
การสื่อสารเพื่อการบริการ
มคอ.4 รายละเอียดประสบการณ์ภาคสนาม
6. การควบคุมให้ปฎิบัติตามกฎ ระเบียบ และ. มาตรฐานความ ประพฤติ การควบคุมให้ปฎิบัติตามกฎ ระเบียบ และ มาตรฐานความ ประพฤติ 7. การทำความเข้าใจซึ่งกันและกัน.
The Career Within You. The Career Within You เหตุผลในการเลือกงานของแต่ละคน ตามรอยครอบครัว ตามคำแนะนำของอาจารย์ที่ตนเคารพ ได้รับคำแนะนำจากคนที่หวังดีและให้เราประสบความสำเร็จ.
ประสบการณ์และคุณค่าแห่งการทำงานร่วมกัน
นโยบายด้านการบริการวิชาการ
การปฏิรูปการส่งเสริม และการจัดการศึกษาตลอดชีวิต
มนุษย์สัมพันธ์ ในการทำงานเป็นทีม
สุขภาพจิต และการปรับตัว
ผู้นำกับประสิทธิภาพในการทำงาน
ขวัญในงานธุรกิจอุตสาหกรรม
มนุษยสัมพันธ์ในการทำงาน
วัฒนธรรมองค์กร & การอยู่ร่วมกัน
Preparation for Democratic Citizen
ลูกใครวะ.
การเป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ และผู้นำทางวิชาการ
หัวข้อวิชา การเพิ่มศักยภาพในการเป็นผู้นำ และการนำเสนอข้อมูล
การพัฒนาตนเองในด้านความคิดสร้างสรรค์
เคล็ดลับในการฝึกงาน ให้ประสบความสำเร็จ!!!
ความรับผิดชอบ ในวิชาชีพ
ความสำเร็จของการพัฒนาบุคลากร ในการทำวิจัยR to R
R2R ในโรงพยาบาลสำเร็จ ได้อย่างไร
ขอต้อนรับทุก ท่าน WELCOME ! No 1. การบรรยายความรู้ มุมมองใหม่ กับการทำงานส่งเสริมเคหกิจ เกษตร วันพุธที่ ๒๐ กรกฎาคม ๒๕๕๔ ระหว่างเวลา ๑๕. ๐๐ – ๑๖. ๐๐ น.
รายละเอียดประสบการณ์ภาคสนาม (Field Experience Specification)
วิธีประสบความสำเร็จในทุกเรื่อง
วิชาวิศวกรรมความรู้ - การจัดการความรู้เพื่อพัฒนาองค์กร
1 UIE research Activities for research training
จรรยาบรรณ เรื่องส่งเสริมเสรีภาพในวิชาชีพ
การส่งเสริมพัฒนาการทางสังคมสำหรับเด็กปฐมวัย
การประสานงานและการสื่อสาร วันที่ 27 เมษายน 2553 กลุ่มที่ 1 ผู้ส่งสาร
รายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม (มคอ.4)
DISC เครื่องมือช่วยบริหารทีม.
หลักสูตร ศิลปะการพูดในที่ชุมนุมชน บรรยาย โดย อาจารย์วทัญญู มุ่งหมาย
การฝึกประสบการณ์วิชาชีพในหน่วยงานราชการ ณ ส่วนแผนงานและพัฒนางานประชาสัมพันธ์ สำนักประชาสัมพันธ์เขต 3 เชียงใหม่
สัมมนาการพัฒนาหลักสูตรและการเรียนการสอนสำหรับท้องถิ่น
จรรยาบรรณ นางสาวสมลักษณ์ ลวดเงิน พนักงานพัฒนากองทุนหมู่บ้าน
ธรรมาภิบาลกับการจัดการภาครัฐแนวใหม่
พยาบาลวิชาชีพ ชำนาญการ
 ปัญหาเกี่ยวกับ สพอ.  ปัญหาเกี่ยวกับ อช.  ปัญหาอาจารย์ที่ปรึกษา.
นางสุพัณณรัฎฐ์ ประชานิยม วิทยาลัยเทคโนโลยีตั้งตรงจิตรพณิชยการ
การประกวดแข่งขันผลงานวิจัย และนวัตกรรมสื่อสารสอนทางอาชีวศึกษา
การนำเสนอผลงานวิจัย โดย : นายเอกพงษ์ วรผล.
การสอนโดยการแบ่งกลุ่มทำกิจกรรม
วัฒนธรรมและค่านิยม ขององค์การอุตสาหกรรมป่าไม้
สัมมนาทางการประกอบการธุรกิจ
วัฒนธรรมกรมอนามัย.
มนุษยสัมพันธ์ ( Human Relations )
แนวทางการพัฒนาทรัพยากรบุคคล
ภาษาและเทคโนโลยีสารสนเทศสำหรับครู
นักวิจัยพี่เลี้ยงที่ดีและหน้าที่ของนักวิจัยพี่เลี้ยง
ใบสำเนางานนำเสนอ:

นักวิจัยพี่เลี้ยงที่ดีและหน้าที่ของนักวิจัยพี่เลี้ยง ศาสตราจารย์ ดร.สุขสันติ์ หอ พิบูลสุข สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา สำนัก วิชาวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี

นักวิจัยพี่เลี้ยง (Mentor) คืออะไร? นักวิจัยพี้เลี้ยงที่ดีถ่ายทอดความรู้และ ประสบการณ์แก่นักวิจัยรุ่นน้อง---ลดเวลา การศึกษา/เรียนรู้ด้วยตัวเอง ผู้ที่ถ่ายทอดประสบการณ์การทำวิจัยที่จำเป็น อย่างเป็นระบบเพื่อให้นักวิจัยรุ่นน้องประสบ ความสำเร็จอย่างรวดเร็ว ผู้ที่ถ่ายทอดประสบการณ์ (ทั้งด้านที่สำเร็จและ ล้มเหลว) แก่นักวิจัยรุ่นน้อง

Mentor vs. Supervisor นักวิจัยพี่เลี้ยงทำงานเพื่อพัฒนาอาชีพของ ผู้ร่วมงาน อาจจะเป็นการกำกับ/กำหนด ทิศทาง (supervise) หรือไม่ก็ได้ supervisor คือผู้ที่รับผิดชอบหรือกำหนด ทิศทางในการทำงานในกับผู้ร่วมงาน อาจจะพัฒนาอาชีพให้แก่ผู้ร่วมงานหรือไม่ก็ ได้

ทำไมต้องเป็นนักวิจัยพี่เลี้ยงที่ดี? มีความสุขกับการถ่ายทอดประสบการณ์ ดึงดูดนักวิจัย/นักศึกษาที่มีความสามารถ เป็นนักวิจัยระดันแนวหน้าของสาขาวิชาฯ พัฒนา/ขยายเครือข่ายงานวิจัย สร้างความเข้มแข็งให้กับภาควิชา/คณะ/สถาบัน/ มหาวิทยาลัย ได้เพื่อนร่วมงานที่มีประสิทธิภาพและรู้ใจ

คุณสมบัติของนักวิจัยพี่เลี้ยงที่ดี มีความอดทนต่อการฟังสูง ตำหนิอย่างสร้างสรรค์ (constructive criticism) ชมเชยเมื่อมีผลงานดี เป็นคนใจกว้างและซื่อสัตย์ เป็นแบบอย่างที่ดีทั้งพฤติกรรมและคำพูด เสียสละตนและเวลา มีความสามารถด้านการสื่อสารที่ดี ให้ข้อเสนอแนะ/แนะนำ โดยปราศจาก การสั่งการ* ให้อิสระทางความคิด (อย่างครอบงำ ความคิด) และกระตุ้นให้ทำงานด้วยตนเอง แต่พร้อมให้ความช่วยเหลือ*

คุณสมบัติของนักวิจัยรุ่นน้อง Mentee ที่ดี หมั่นตั้งคำถาม พร้อมเป็นผู้รับการฝึกอบรม (mentored) มุ่งมั่น/ทุ่มเทเวลาที่จะทำงานวิจัยให้ดีที่สุด ยอมรับข้อตำหนิได้ เรียนรู้จากความผิดพลาด มีความอยากรู้อยากเห็น มีความรับผิดชอบสูง ใจกว้างและซื่อสัตย์ สุภาพและเคารพผู้อื่น

นักวิจัยพี่เลี้ยงคือ? อาจารย์ที่ปรึกษาและครู นักวิจัยต้นแบบ เพื่อนร่วมงาน ความล้มเหลวของนักวิจัยคือความล้มเหลวของทีม ความล้มเหลวของทีมทำให้นักวิจัยล้มเหลวเช่นกัน

นักวิจัยพี่เลี้ยงคืออาจารย์ที่ปรึกษาและครู ให้ความรู้แก่นักวิจัย ในบางสถานการณ์ นักวิจัยพี่เลี้ยงอาจต้อง วางตัวให้ห่างจากนักวิจัยพี่เลี้ยงเพื่อให้เคารพและ ปฏิบัติการตามคำสั่ง เมื่อนักวิจัยพี่เลี้ยงมีอายุใกล้เคียงหรือน้อยกว่า นักวิจัยรุ่นน้อง ควรวางตัวให้มีระยะห่าง เพื่อสร้างความเคารพนับถือ

นักวิจัยพี่เลี้ยงคือนักวิจัยต้นแบบ เป็น Independent Researcher อาจารย์ที่ปรึกษามักเป็นต้นแบบของนักศึกษา เป็นตัวอย่างที่ดีทั้งในแง่ของคำพูดและการ กระทำ มุ่งมั่นตั้งใจในการทำงานพี่เลี้ยง อย่าสั่งการ/เผด็จการ และไม่ยกตนขมท่าน จริงใจและตรงไปตรงมา ช่วยพัฒนาและส่งเสริมให้นักวิจัยรุ่นน้องมีชื่อเสียง และเป็นที่ยอมรับ มีความเป็นกลางและเป็นธรรม

นักวิจัยพี่เลี้ยงคือเพื่อนร่วมงาน ความสัมพันธ์ส่วนตัวอาจช่วยให้เป็นพี่เลี้ยงมี ประสิทธิภาพ นักวิจัยแต่ละคนมีความแตกต่างกัน และมี ความต้องการที่แตกต่างกัน ความต้องการอาจแตกต่างกันตามเพศและอายุ ค่าตอบแทน ชื่อเสียง ความต้องการความรู้ใหม่ๆ ความต้องการเปลี่ยนแปลงตามเวลาและไม่มี สิ้นสุด เมื่อความต้องการหนึ่งได้รับการตอบสนองแล้ว ก็จะ มีความต้องการใหม่

นักวิจัยพี่เลี้ยงคือเพื่อนร่วมงาน แสดงทัศนคติ จุดมุ่งหมาย และความฝัน สร้างความฝัน/ความต้องการร่วมกัน บทความวิชาการ การสร้างเครือข่ายวิจัย การทำธุรกิจร่วมกัน รับผิดชอบผลสัมฤทธิ์และความล้มเหลวร่วมกัน ตอบแทนนักวิจัยในกลุ่มอย่างยุติธรรม ความล้มเหลวของนักวิจัยคือความล้มเหลวของทีม ความล้มเหลวของทีมคือความล้มเหลวของนักวิจัย เช่นกัน

A mentor helps you best utilize your talents Summary: A mentor helps you best utilize your talents “A mentor is like a tattoo, it stays with you forever.” From: Mentoring: Turning Pebbles into Diamonds by P.A. Vesilind as reported in Michigan State University Research Integrity Vol. 3, No. 2, Spring 1999