ร่องน้ำปากน้ำชุมพร เรือ ต.๘๑.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
รายงานสถานการณ์น้ำท่วมสุราษฎร์ธานี ๒ เม.ย.๒๕๕๔
Advertisements

นกในประเทศไทย จัดทำโดย ด.ช.ธีรวุฒิ เนียมคุ้ม ชั้น ม. 2/1 เลขที่ 9.
HONDA TRAFFIC EDUCATION CENTER
ด.ญ. วราภรณ์ พันธ์คำ เลขที่ 34 ด.ญ. ภาวินีย์ เค้ามูล เลขที่ 42
คลื่นพายุซัดชายฝั่ง กลุ่มที่6.
การระบาดของอหิวาตกโรคจังหวัดตาก
ข้อมูลร่องน้ำบ้านดอน ปากน้ำตาปี จ.สุราษฎร์ธานี
ท่าเรืออเนกประสงค์ดอนสัก (แหลมทวด)จ.สุราษฎร์ธานี
ข้อมูลเดือน ก.ค.๕๔ โดย เรือ ต.๙๕
ท่าเรือแม่น้ำท่าจีน.
ท่าเทียบเรือ ฐท.พังงา.ทรภ.๓
ท่าเรือประจวบคีรีขันธ์
ท่าเทียบเรือประมง อ.คุระบุรี จ.พังงา
ท่าเทียบเรือศรีบ้านเพ
ท่าเทียบเรืออ่าวบังเบ้า เกาะช้าง
ท่าเรือพาณิชย์แหลมฉบัง
ท่าเทียบเรือสถานีเรือละงู เรือ ต.๒๒๐ เข้าราชการทรภ.๓ ต.ค.๕๓
ท่าเทียบเรือ ฐตร.ทรภ.๑.
ท่าเทียบเรืออ่าวสลัด ก.กูด
การสำรวจปากแม่น้ำปัตตานีท่าเทียบเรือ อบต.บานา
ท่าเรือนิคมอุสาหกรรมมาบตาพุด
ท่าเทียบเรืออ่าวตานิด เกาะหมาก
ท่าเทียบเรือเขาหมาจอ
ท่าเทียบเรือแพปลาสดใส จ.ระนอง เรือ ต.๒๑๔ ปฏิบัติราชการ ทรภ.๓
ท่าเทียบเรือเกาะเสม็ด
ร่องน้ำปราณบุรี.
ท่าเรือศุลกากร.
การจัดการความรู้ ข้อมูลเดือน มิ.ย.๕๔ โดย เรือ ต.๑๖
ท่าเทียบเรือ เกาะพยาม จ.ระนอง เรือ ต.๒๑๔ ปฏิบัติราชการ ทรภ.๓
การสำรวจร่องน้ำคลองบางนรา จ.นราธิวาส
การสำรวจบริเวณท่าเทียบเรือเอนกประสงค์ อ.เกาะพะงัน จว.สุราฦษฎร์ธานี
หลักเทียบเรือ ทรภ.๓ แหลมพันวา จ.ภูเก็ต
การสำรวจบริเวณท่าเรือซีทรานเฟอร์รี่หาดหน้าทอน เกาะสมุย จ.สุราษฎร์ธานี
ท่าเรือ โอเชี่ยน มารีน่า
ผลกระทบของแผ่นดินไหวที่มีต่อเขื่อน ในประเทศญี่ปุ่น
จัดทำโดย ด.ช.สมชาย คงดั่น 2/5.
การเลี้ยงปลากะพงขาว.
สำนักงานประมงจังหวัดประจวบคีรีขันธ์
แนวทางการดำเนินงานในการสำรวจพื้นที่ล่อแหลม
รายงานผลการปฏิบัติงาน กองกำกับการ ๑ กองบังคับการตำรวจน้ำ
รายงานผลการปฏิบัติงาน กองกำกับการ ๑ กองบังคับการตำรวจน้ำ
เขตควบคุมอาคาร.
เงินทุนหมุนเวียนเพื่อการชลประทาน ปีงบประมาณพ. ศ. ๒๕๕๕ โครงการงบประมา ณ โอน จัดสรร เบิกจ่าย ( ร้อย ละ ) ผลการ ดำเนิน งาน ( ร้อย ละ ) ๑. ปรับแก้ โครงข่ายหมุด.
รายงานสถานการณ์น้ำท่วมสุ ราษฎร์ธานี ๓๑ มีนาคม ๒๕๕๔ ถึงเวลา ๒๒. ๐๐ น. ของส. ทล. ๕ กก. ๒ บก. ทล.
โดย พันจ่าตรี เมธี ดำรงศักดิ์
ชายหาดทะเลในจังหวัดระยอง
ณ ทะเลบางแสน ไปเที่ยวกัน
มหัศจรรย์แห่งท้องทะเล
ทะเลแหวก แห่งอันดามัน
สถานที่ท่องเที่ยวในจังหวัดชลบุรี
นำเสนอ อาจารย์วิชัย บุญเจือ จัดทำโดย นางสาวสาวิณี เจิมขุนทด
จังหวัดสุรินทร์.
สถานที่ท่องเที่ยว จังหวัดภูเก็ต
การท่องเที่ยวในบางแสน
สัตหีบ SATTAHIP CHONBURI.
ดอนหอยหลอด (Don Hoi Lot).
10.3 ชนิดของอุทกภัย (1.) แบ่งตามสาเหตุการเกิด
หน่วยที่ 1 ปริมาณทางฟิสิกส์ และเวกเตอร์
ประกาศกรมธุรกิจพลังงาน เรื่อง หลักเกณฑ์การจัดทำเครื่องหมายแสดงในบริเวณเขตระบบการขนส่งน้ำมัน ทางท่อ พ.ศ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา 29 กันยายน 2554.
HONDA TRAFFIC EDUCATION CENTER
7.5 วิธีการวัดน้ำท่า(streamflow measurement)
ข้อมูลการออกแบบท่าเรือ โครงการท่าเรือน้ำลึกปากบารา ระยะที่1
ภาคใต้.
ดินถล่ม.
สถานที่ท่องเที่ยวที่ชอบ
โครงการพระราชดำริ หญ้าแฝก จัดทำโดย ด.ช.พงศ์ธนัช เสนอ อ.มุทิตา หวังคิด.
หน่วยที่ ๗ การโฆษณา ความหมายของการโฆษณา
Class Monoplacophora.
Class Polyplacophora.
โลกและสัณฐานของโลก.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ร่องน้ำปากน้ำชุมพร เรือ ต.๘๑

ตำบลที่ อ่าวชุมพร จ.ชุมพร แผนที่ที่เกี่ยวข้อง แผนที่เดินเรือไทย หมายเลข ๒๕๕(อศ) แผนที่เดินเรือไทย หมายเลข ๒๒๕(อศ) ลักษณะพื้นท้องทะเล โคลน ลักษณะน้ำ/ลม/มาตราน้ำ/ข้างขึ้น-แรม ขณะน้ำขึ้นสูงสุดและทรงตัว ความสูงน้ำ ๓.๕ เมตร ตรงกับวันขึ้น ๗ ค่ำ เดือน ๗ ทะเลมีคลื่นเล็กน้อยเรียบ ลมสงบ

ภาพแผนที่แสดงตำบลที่ท่าเรือ ท่าเรือส่งเสริม ปากน้ำชุมพร

ภาพถ่ายดาวเทียมแสดงตำบลที่ท่าเรือ ท่าเรือส่งเสริม ปากน้ำชุมพร

แผนที่ ๒๒๕อ่าวชุมพร แผนที่ ๒๒๕อ่าวชุมพร เกาะมัตโพน ร่องน้ำปากน้ำชุมพร ปากน้ำชุมพรอยู่ทางด้านใต้ของอ่าวชุมพร

แผนที่แสดงข้อมูลร่องน้ำ ทุ่นไฟปากร่อง FI.3s7.2M C-230 กระโจมไฟเกาะมัตโพน L FI.WR.7s47m16,8M หลักนำ A หลักนำ B ท่าเรือส่งเสริม

ภาพถ่ายดาวเทียมปากน้ำชุมพร อ่าวชุมพร แนวเขื่อนกันคลื่น C-230 กระโจมไฟเกาะมัตโพน L FI.WR.7s47m16,8M ท่าเรือส่งเสริม

ทุ่นไฟปากร่อง FI.3s7.2M

เข็มเข้าร่องน้ำ ๒๓๐ กระโจมไฟ เกาะมัตโพน L FI.WR.7s47m16,8M แนวเขื่อนกันคลื่นฝั่งซ้าย แนวเขื่อนกันคลื่นฝั่งขวา ร่องน้ำกว้าง๑๔๐ หลา เข็มเข้าร่องน้ำ ๒๓๐

แนวเขื่อนกันคลื่นและไฟปลายเขื่อนซ้าย แนวเขื่อนกันคลื่นและไฟปลายเขื่อนขวา

การนำเรือเข้าร่องน้ำชุมพร ไฟกำกับร่องน้ำฝั่งซ้าย หลักนำ การนำเรือเข้าร่องน้ำชุมพร ใช้เข็ม ๒๓๐ โดยมีหลักนำช่วยในการนำเรือ ระยะทางประมาณ ๑๘๐๐ หลาจากทุ่นไฟปากร่อง ร่องน้ำกว้าง ๑๔๐ หลา

ท่าเรือ ลักษณะท่าเรือทางกราบซ้าย ลักษณะร่องน้ำทางกราบขวา เมื่อเปลี่ยนเข็มมาทางซ้ายจะมองเห็นท่าเรือมีหลังคาสีส้ม ทางกราบซ้ายน้ำจะตื้นกว่ากราบขวา ควรนำเรือให้อยู่บริเวณกึ่งกลางร่อง

ลักษณะท่าเทียบเรือ ต้นมะพร้าวสำหรับกันกระแทก ท่าเรือส่งเสริมมีความสูง ประมาณ ๔ เมตร ท่าเรือเป็นคอนกรีต ไม่มียางกันกระแทก มีเฉพาะเสาต้นมะพร้าว ท่าเรือลักษณะรูปตัว T ขนาดโดยประมาณ กว้าง ๔ เมตร ยาว ๒๕ เมตร

ลักษณะท่าเรือ

การนำเรือเข้าเทียบ/ออกจากเทียบ เมื่อถึงบริเวณทุ่นไฟปากร่อง นำเรือเข้าปากน้ำชุมพร ร่องน้ำกว้างประมาณ ๑๔๐ หลา โดยมีหลักนำในการนำเรือเข้าร่องน้ำ จำนวน ๑ คู่ เข็มหลักในการนำเรือเข้าร่องน้ำ คือ เข็ม ๒๓๐ (เข็มออกคือ ๐๕๐) ระยะทางประมาณ ๑๘๐๐ หลาจากทุ่นไฟปากร่อง แล้วนำเรือเลี้ยวตามโค้งซ้าย ระยะทางประมาณ ๖๐๐ หลา เพื่อเข้าไปท่าเรือส่งเสริม โดยให้ระมัดระวังทางด้านกราบซ้ายซึ่งมีระดับน้ำตื้น สำหรับตำบลที่ในการเทียบเรือ เรือ ตกฝ. ควรนำเรือเข้าในช่วงเวลาน้ำขึ้นสูงสุด และควรระมัดระวังเรือประมงขนาดเล็ก ที่จอดในบริเวณใกล้เคียง กระแสน้ำขึ้น-ลง ค่อนข้างแรง

ลักษณะการเทียบเรือ ควรเข้าเทียบกราบขวา หันหัวเรือออกปากร่อง เพราะด้านในร่องน้ำจะลึก แต่ถ้าเทียบกราบซ้ายควรเทียบให้ท้ายเรือห่างจากเบรกกันคลื่นทางด้านท้ายมากที่สุด เนื่องจากบริเวณนั้นน้ำค่อนข้างตื้น

ที่หมายเวลากลางคืน มีกระโจมไฟ เกาะมัตโพน(L FI.WR.7s47m16,8M) ทุ่นไฟปากร่อง ๑ ทุ่น(FI.3s7.2M) มีไฟกำกับร่องน้ำที่ปลายเบรกและมีหลักนำ ๑ คู่ (A,B)

ข้อควรระมัดระวัง ก่อนที่จะกลับลำเข้าเทียบท่าให้ระมัดระวังเรือประมงขนาดเล็กและใหญ่ที่สัญจรในร่องน้ำ ลักษณะน้ำขึ้น-น้ำลงในร่องน้ำข่อนข้างแรง ในขณะนำเรือต้องใช้ความระมัดระวังเป็นพิเศษ ในการเข้าเทียบท่าเรือควรเข้าเทียบในช่วงเวลาน้ำขึ้นสูงสุด และควรนำเรือเข้าเทียบให้เสร็จสิ้นก่อนเวลาน้ำลง ระดับน้ำลงต่ำสุด ประมาณ ๑.๒ เมตร ซึ่งเรือจะนั่งแท่น ลักษณะพื้นท้องทะเลเป็นโคลน ในช่วงเวลากลางคืน อาจมีลมแรงให้ระมัดระวังเรือประมงที่เทียบอยู่ฝั่งตรงข้ามโดยจอดเทียบกันอยู่หลายลำ มักจะมีเรือประมงหลุดจากเทียบ เวรยามต้องระมัดระวังเรือให้ดี และก่อนออกเรือควรทำการหยั่งน้ำก่อนทุกครั้ง

ลักษณะท่าเรือเมื่อน้ำลงต่ำสุด

การติดต่อสื่อสาร วิทยุ ไม่มี โทรศัพท์ ประสานกับทัพเรือภาคที่ ๑ สิ่งอำนวยความสะดวก การบริการน้ำ ไม่มี การบริการไฟฟ้า ไม่มี มีตลาดและร้านขายของต่าง ๆ ห่างจากท่าเรือประมาณ ๘๐๐ เมตร ความสัมพันธ์กับประชาชนในพื้นที่ : มีความสัมพันธ์ที่ดี