งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ท่าเทียบเรือ ฐท.พังงา.ทรภ.๓

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ท่าเทียบเรือ ฐท.พังงา.ทรภ.๓"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ท่าเทียบเรือ ฐท.พังงา.ทรภ.๓

2 ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง ๑. วันที่สำรวจ ๑๔๐๙๐๐ ก.ค. ๕๔ โดย เรือ ต.๙๖ ๒. ลักษณะน้ำ/ลม/มาตราน้ำ/ข้างขึ้น-แรม ขณะน้ำขึ้นสูงสุดและทรงตัว ความสูงน้ำ ๒.๘ เมตร จากระดับน้ำลงต่ำสุด ตรงกับวันขึ้น ๑๕ ค่ำเดือน ๘ ทะเลมีคลื่นเล็กน้อยถึงปานกลาง ความเร็วลม ๗-๘ น็อต

3 ๓.ข้อมูลการนำเรือที่เกี่ยวข้อง
แผนที่ที่เกี่ยวข้อง แผนที่ ๓๕๓ บ้านท้ายเหมือง ถึง ช่องปากเกาะ แผนที่ ล.๒๕ อ่าวทับละมุ ตำบลที่ ท่าเทียบเรือ ฐท.พังงา.ทรภ.๓ ทุ่นไฟปากร่อง (ทุ่นไฟ NO.2) แลต ๘ องศา ๓๕.๗ ลิปดาเหนือ ลอง ๙๘ องศา ๑๓.๙ ลิปดา ตะวันออก

4

5 หินขี้นก C-090 C-161 C-206 กระโจมไฟเขาหน้ายักษ์ หลักนำแรก หลักนำที่สอง
NO.2 No.4 No.6 No.3 ระยะห่างปลายแหลมประมาณ 600 หลา C-090 C-161 C-206 ลักษณะร่องน้ำ ร่องน้ำมีความลึกเฉลี่ย ๖-๗ เมตร ความกว้างของร่องน้ำ ๓๐๐ หลา ความยาวของร่องน้ำประมาณ ๑ ไมล์ ประกอบด้วยหลักนำสองคู่ เข็มแรก ๑๖๑ เข็มต่อมา ๒๐๖

6 การนำเรือเข้าเทียบ/ออกจากเทียบ
เมื่อนำเรือเข้ามาใกล้ปากอ่าวเขาหลักจะมองเห็นกระโจมไฟหินขี้นกซึ่งตั้งอยู่บนหินขี้นกและทุ่นไฟกำกับร่อง ( ทุ่นแดงหมายเลข ๒) ได้อย่างชัดเจน ให้นำเรือถือเข็มประมาณ ๐๙๐ ผ่านปลายแหลมอ่าวขาม(ปลายแหลมกระโจมไฟเขาหน้ายักษ์ )ทางด้านทิศเหนือในระยะห่างประมาณ ๖๐๐ หลา โดยใช้ทุ่นไฟกำกับร่อง ( ทุ่นแดงหมายเลข ๒)เป็น HEAD MARK เมื่อเห็นหลักนำคู่แรกให้เปลี่ยนเข็มเรือเข้าหาหลักนำคู่แรก เมื่อนำเรือผ่านทุ่นแดงหมายเลข ๔ และทุ่นเขียวหมายเลข ๓ ใ ห้เปลี่ยนเข็มเรือเข้าหาหลักนำคู่ที่สอง และเมื่อนำเรือผ่านทุ่นแดงหมายเลข ๖ สามารถเปลี่ยนเข็มเพื่อนำเรือเข้าจอดที่ท่าเทียบเรือ ฐท.พง.ทรภ.๓ สำหรับเรือ ตกช. และ ตกฝ. ให้เทียบบริเวณด้านในของท่าตามรูปโดยอ้อมทุ่นแดงปลายเขื่อน ในการ เข้าเทียบขณะมีกระแสน้ำขึ้น-น้ำลง ควรสังเกตุกระแสน้ำและนำเรือในลักษณะทวนกระแสน้ำ

7 หินขี้นก

8 กระโจมไฟ เขาหน้ายักษ์

9 ทุ่นไฟเก่า ทุ่นไฟใหม่

10 หลักนำคู่แรกเข็ม ๑๖๑

11 หลักนำคู่ที่สองเข็ม ๒๐๖

12 ลักษณะท่าเรือ โครงสร้างเป็นคอนกรีตเสริมเหล็กรูปตัว L ทางเข้า กว้าง ๑๐ ม. ยาว ๑๗๘ ม. บริเวณหน้าท่า ยาว ๒๐๐ ม. กว้าง ๑๕ ม. พื้นท้องทะเล ดินเหนียวปนทราย

13 การนำเรือเข้าเทียบ/ออกจากเทียบ เมื่อนำเรือเข้ามาใกล้ปากอ่าวเขาหลักจะมองเห็นกระโจมไฟหินขี้นกซึ่งตั้งอยู่บนหินขี้นกและทุ่นไฟกำกับร่อง ( ทุ่นแดงหมายเลข ๒) ได้อย่างชัดเจน ให้นำเรือถือเข็มประมาณ ๐๙๐ ผ่านปลายแหลมอ่าวขาม(ปลายแหลมกระโจมไฟเขาหน้ายักษ์ )ทางด้านทิศเหนือในระยะห่างประมาณ ๖๐๐ หลา โดยใช้ทุ่นไฟกำกับร่อง ( ทุ่นแดงหมายเลข ๒)เป็น HEAD MARK เมื่อเห็นหลักนำคู่แรกให้เปลี่ยนเข็มเรือเข้าหาหลักนำคู่แรก เมื่อนำเรือผ่านทุ่นแดงหมายเลข ๔ และทุ่นเขียวหมายเลข ๓ ให้เปลี่ยนเข็มเรือเข้าหาหลักนำคู่ที่สอง และเมื่อนำเรือผ่านทุ่นแดงหมายเลข ๖ สามารถเปลี่ยนเข็มเพื่อนำเรือเข้าจอดที่ท่าเทียบเรือ ฐท.พง.ทรภ.๓ สำหรับเรือ ตกช. และ ตกฝ. ให้เทียบบริเวณด้านในของท่าตามรูปโดยอ้อมทุ่นแดงปลายเขื่อน ในการเข้าเทียบขณะมีกระแสน้ำขึ้น-น้ำลง ควรสังเกตุกระแสน้ำและนำเรือในลักษณะทวนกระแสน้ำ

14 ข้อระมัดระวัง สิ่งปลูกสร้างบริเวณปลายเขื่อน ข้อควรระมัดระวัง
๑.ไม่ควรนำเรือเข้าใกล้ปลายแหลมเขาหน้ายักษ์เนื่องจากมีแนวหินใต้น้ำอยู่ สามารถเห็นได้ชัดเจนในเวลาที่น้ำลงต่ำสุด ๒.ให้ระวังสิ่งปลูกสร้างท้ายทุ่นแดงปลายเขื่อนทำให้ทางเข้าไปเทียบแคบ และให้ระวังเวลาเทียบในตอนที่น้ำลงเพราะอาจติดตื้นไม่ควรนำเรือให้ออกห่างจากท่าเรือมากเกินไป ๓.กระแสน้ำในช่วงน้ำลงต่ำค่อนข้างแรง ควรใช้เครื่องจักรถอยหลังในการนำเรือเข้าเทียบ สิ่งปลูกสร้างบริเวณปลายเขื่อน

15 ข้อควรระมัดระวัง ๑.ไม่ควรนำเรือเข้าใกล้ปลายแหลมเขาหน้ายักษ์เนื่องจากมีแนวหินใต้น้ำอยู่ สามารถเห็นได้ชัดเจนในเวลาที่น้ำลงต่ำสุด ๒.ให้ระวังสิ่งปลูกสร้างท้ายทุ่นแดงปลายเขื่อนทำให้ทางเข้าไปเทียบแคบ และให้ระวังเวลาเทียบในตอนที่น้ำลงเพราะอาจติดตื้นไม่ควรนำเรือให้ออกห่างจากท่าเรือมากเกินไป ๓.กระแสน้ำในช่วงน้ำลงต่ำค่อนข้างแรง ควรใช้เครื่องจักรถอยหลังในการนำเรือเข้าเทียบ

16 ๔. การติดต่อสื่อสาร ศูนย์สื่อสาร ฐท.พง.ทรภ.๓ ธุรการ VHF CH.๖๗

17 ๕.สิ่งอำนวยความสะดวก ระบบไฟฟ้า
- เครื่องแปลงความถี่ ขนาด ๑,๐๐๐ KVA. ๔๐๐ VAC ๓ PHASE ๓ WIRE ๖๐ HZ ๑ ชุด - เครื่องแปลงความถี่ ขนาด ๕๐๐ KVA. ๔๐๐ VAC ๒ PHASE ๓ WIRE ๖๐ HZ ๑ ชุด - หม้อแปลงไฟฟ้า ขนาด ๑,๒๕๐ KVA. ๑ ชุด - หม้อแปลงไฟฟ้า ขนาด ๑๐๐ KVA. ๒ ชุด - SYNCHRONIZING CONTROL CABINET - ตู้ควบคุมการจ่ายไฟ ( SHORE DISTRIBUTION BORD ) ๑ ตู้ - ติดตั้งตู้ระบบไฟฟ้า ๓๘๐ V. ๕๐ Hz โดยเพิ่ม TRANSFER SWITCHBOARD สำหรับจ่ายไฟให้กับเรือชุด ร.ล.เจ้าพระยา ๑ ชุด - ติดตั้งเครื่องแปลงความถี่ ออโตเมติก ขนาด ๑,๐๐๐ KVA. ๔๖๐ VAC ๓ PHASE ๓ WIRE ๖๐ HZ พร้อมชุดควบคุมและอุปกรณ์ประกอบในโรงคลุม - ติดตั้งหม้อแปลงชนิดตั้งพื้น ขนาด ๑,๖๐๐ KVA. ๔๖๐ ๓๓ KV. ๔๐๐ /๒๓๐ VAC ๓ PHASE ๔ WIRE ๕๐ HZ

18 ระบบประปา - วางท่อประปาชนิด GALYANIZED STEEL PIPES (GSP) ขนาด ๖ นิ้ว และ ๔ นิ้ว - ติดหัวจ่ายแบบเกลียวนอกพร้อมอุปกรณ์ประกอบด้วย GATE VALVE PRESSURE REDUCING VALVE BALL BALVE METER C – CLAMP และ STEEL SUPPORT จำนวน ๗ ชุด โดย ฐานทัพเรือพังงา สามารถผลิตน้ำประปาเพื่อสนับสนุนให้หน่วยและเรือ ต่าง ๆ ที่จอดบริเวณท่าเทียบเรือ ฯ ได้เอง

19 น้ำมันเชื้อเพลิง - คลังเรือ น้ำมันดีเซลหมุนเร็ว จำนวน ๖ ถัง ๆ ละ ๖๐,๐๐๐ ลิตร สำหรับสนับสนุนให้กับเรือ - ท่อทางส่งน้ำมันเชื้อเพลิง ขนาด ๓ นิ้ว จำนวน ๒ ชุด และ ขนาด ๔ นิ้ว จำนวน ๒ ชุด - หัวจ่าย ขนาด ๑ ๑/๒ นิ้ว ในอัตรา ๑๒,๐๐๐ ลิตร/ชม.


ดาวน์โหลด ppt ท่าเทียบเรือ ฐท.พังงา.ทรภ.๓

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google