Trigger marker + Medical record safety review ในโรงพยาบาลค่ายสุรนารี

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
หน่วยงานจักษุกรรม รพ.ค่ายวชิราวุธ.
Advertisements

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
Risk Management JVKK.
QA patient safety ภาควิชาจักษุวิทยา.
Patient Safety Walk Rounds :
กระทำหน้าที่ตามเป้าหมายขององค์กรอย่างสมบูรณ์
ทบทวนให้ถึงแก่น น.พ.อนุวัฒน์ ศุภชุติกุล
ความคลาดเคลื่อนในการให้ยา
ขุมทรัพย์จากใบ TRIGGER TOOL
ในโรงพยาบาลค่ายสุรนารี
เรื่อง “การใช้เครื่องมือ Trigger” (medical record safety review)
Risk management รศ.นพ.จรัล กังสนารักษ์.
การดำเนินการปรับปรุงระบบสารสนเทศ - ๑
การบริหารความเสี่ยง ความปลอดภัย โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่
ตัวอย่าง นวัตกรรมทางการพยาบาล
Service Profile บริการ/ทีม: โรงพยาบาล วันที่ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด
โดย นายแพทย์สุชัย อนันตวณิชกิจ
PCT กุมารเวชกรรม รพ.เชียงรายฯ
Medication reconciliation
งานบริหารความเสี่ยง Risk management (RM)
กลุ่มงานสูตินรีเวชกรรม โรงพยาบาลน่าน
สรุปภาพรวมการดำเนินงานที่ผ่านมา
บริบาลเภสัชกรรม รวดเร็วปลอดภัย คลินิกเด็กหัวใจสีเหลือง.
1. 2 โรงพยาบาลทั่วไปประกอบด้วยจำนวนวอร์ดสำหรับ คนไข้เฉพาะ ( เช่น คลอดบุตร กุมารเวชศาสตร์ เนื้องอก ฯลฯ ) ใน แต่ละวอร์ดรับจำนวนผู้ป่วยที่เข้ารับการรักษาตาม.
นพ.วินัย ศรีสอาด สถาบันเวชศาสตร์ผู้สูงอายุ กรมการแพทย์
Service Profile บริการ/ทีม: โรงพยาบาล วันที่ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด
สิบเอ็ดประตูเมืองงาม เรืองนามพระสูงใหญ่ ผ้าไหมสาเกต บุญผะเหวดประเพณี มหาเจดีย์ชัยมงคล งามน่ายลบึงพลาญชัย เขตกว้างไกลทุ่งกุลา.
ในการสอบสวนโรคกลุ่มต่าง ๆ
คลินิกผู้สูงอายุต้นแบบ (Geriatric Clinic Model) โรงพยาบาลอุดรธานี
การรายงาน ADR/ การป้องกันการแพ้ยาซ้ำ
การลดขั้นตอนบริการคลินิครักษาผู้มีบุตรยาก รพ ราชวิถี
บทเรียนจากการเก็บข้อมูลภาคสนามเพื่อการติดตามตาม HIVDR-EWI
การประเมินตนเองตามมาตรฐานตอนที่ III กระบวนการดูแลผู้ป่วย
คู่มือการพัฒนาคุณภาพ HA SPA SAR 2011 HA Scoring Guideline 2011
หลักการ วิเคราะห์ คำนวณภาระงาน และคำนวณ FTE ของบุคลากรแต่ละกลุ่ม
คู่มือการบันทึกข้อมูล 7 แฟ้ม กลุ่มข้อมูลการส่งต่อผู้ป่วย
:: Pitfall : การบริหารการพยาบาล ::
Point of care management Blood glucose meter
การจัดการระบบยา เพื่อ ความปลอดภัย บันไดขั้น 2 สู่ ขั้น 3.
การสื่อสารยุทธศาสตร์ปี 2558
สถานการณ์ภาวะตาบอดในประเทศไทย
โรงพยาบาลเทพรัตน์นครราชสีมา
โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชเดชอุดม
งานสวน โรงพยาบาลบ้านเขว้า. ชื่อผลงาน กิจกรรมการพัฒนาคุณภาพ เรื่องการลดอุบัติเหตุจากการตัดหญ้าถูกกระจกรถแตก.
รพ. สระใคร อ. สระใคร จ. หนองคาย
EASY ASTHMA CLINIC โรงพยาบาลนครพนม
CQI งานผู้ป่วยในหญิง เรื่อง
มาตรการป้องกันควบคุม โรคติดต่อในช่วงฤดูฝน - ให้คปสอ. ทุกแห่งเร่งรัดดำเนินการดังนี้ ๑. การป้องกัน (Protection) ๑. ๑ สนับสนุนการฝึกอบรมแก่บุคลากรทางการแพทย์ด้านการ.
สกลนครโมเดล.
การพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง
Quality Improvement Track
SAR2011 ข้อ III 4.3 ฉ : การฟื้นฟูสภาพ
แนวทางปฏิบัติ เรื่อง การรายงานเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์รุนแรง
การดำเนินงานดูแลผู้ป่วยต้อหิน จังหวัดร้อยเอ็ด 2011
โครงการพัฒนาระบบข้อมูล เพื่อการจัดการสุขภาพระดับอำเภอ
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ จังหวัดปทุมธานี
แนวทางการคัดกรองและส่งต่อ ผู้ป่วยเด็กโรคหัวใจ โรงพยาบาลศรีสะเกษ
วิเคราะห์สถิติผู้ป่วยนอก ให้รหัสตาม icd10tm
Service Profile บริการ/ทีม: ……………………………. โรงพยาบาลนครปฐม
งานคุณภาพ ของแผนกทารกแรกเกิด
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
งานจ่ายกลาง โรงพยาบาลบ้านเขว้า
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
คลินิกสุขภาพเด็กดีคุณภาพ
การฝึกปฏิบัติการพยาบาลผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ 1 (กระบวนวิชา ) และ
PCT ทีมนำทางคลินิก.
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
พว.พิมพ์วรา อัครเธียรสิน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Trigger marker + Medical record safety review ในโรงพยาบาลค่ายสุรนารี ขุมทรัพย์ Trigger marker + Medical record safety review ในโรงพยาบาลค่ายสุรนารี กับการป้องกัน & ค้นหาความเสี่ยง ด้านคลินิก ดีจริงหรือ ?

Trigger marker ประกอบด้วย ตัวอย่าง Trigger of failure mode /กระบวนการทำงาน + Specific clinical risk Prevent adverse event จริงหรือไม่ ? พบ trigger marker ไม่เกิด adverse event การตอบสนองของ rapid response team < 95% ปรับปรุง RRT  95% ปรับปรุง

ของการใช้ Trigger marker เพื่อป้องกันความเสี่ยง ผลลัพธ์ ของการใช้ Trigger marker เพื่อป้องกันความเสี่ยง ตัวอย่าง หน่วยงานที่ใช้เครื่องมือ Success 7-status เดิม 3 CPR 17 ราย 1) พบ marker เรื่อง conscious, VS change ได้ intubations 56 ราย 2) พบ trigger marker อื่น 55 ครั้ง (พบบ่อย BUN/CR>2, hct , plt , O2<90%)  พบ adverse event 11 ครั้ง จาก delay diag, delay Rx ในกลุ่ม ACS, sepsis จึงเพิ่ม specific clinical risk Med ชาย ต้นแบบในช่วง (ม.ค.-ก.ย.50) Fail 10 ไม่ CPR 39 ราย 1) Trigger of failure mode (เช่น pre-post operation, labor, new born) 2) specific clinical risk (เช่น PIH, DM, preterm) พบ marker ก.ย. 48, ต.ค. 29 พบ AE 2 ครั้ง (prolong labor, brachial plexus injury) เกิด Harm G 1 ห้องคลอด & หลังคลอด , นรีเวช& NS (ก.ย.-ต.ค.50)

+ Medical record safety review ประกอบด้วย ผู้ป่วยที่กลับเข้านอนโรงพยาบาลซ้ำภายใน 28 วัน ผู้ป่วยที่แพ้ยา ผู้ป่วยที่มีการติดเชื้อในโรงพยาบาลหรือผู้ป่วย sepsis ผู้ป่วยที่ได้รับบาดเจ็บขณะนอนโรงพยาบาลจากการทำหัตถการนอกOR ผู้ป่วยที่เสียชีวิต ผู้ป่วยที่ถูกส่งต่อไปโรงพยาบาลอื่นที่ไม่ใช่ด้านธุรการ ผู้ป่วยที่ย้ายเข้า ICU โดยไม่ได้วางแผน ผู้ป่วยที่เกิดการบาดเจ็บต่ออวัยวะหรือถูกตัดอวัยวะโดยไม่ได้วางแผน ผู้ป่วยที่ได้รับการผ่าตัดซ้ำโดยไม่ได้วางแผน ผู้ป่วยที่มี cardiac หรือ respiratory arrest ที่ไม่เสียชีวิต ผู้ป่วยที่มี neurological deficit เกิดขึ้นระหว่างอยู่โรงพยาบาล ผู้ป่วยที่มีการฟ้องร้องเป็นคดีความ ผู้ป่วยที่เกิดการบาดเจ็บระหว่างการคลอดหรือการแท้ง,complication post surgery โรค & หัตถการ ที่มีความเสี่ยงสูง ของแต่ละ CLT 13 trigger marker ใน high risk chart + ทบทวนเวชระเบียน หลังผู้ป่วยกลับบ้าน คำนวณจำนวน AE ต่อ 1,000 วันนอน LOS ผู้ป่วยในทั้งหมด AE ไปพัฒนา พบ adverse event หรือไม่ พบ เกิด Harm ระดับใด (E-I) แนวโน้ม Clinical risk แต่ละโรค ไม่พบ ประกัน safety ผู้ป่วย

ผลลัพธ์ของ Medical record safety review เพื่อค้นหา & และประกันความปลอดภัย

การใช้เครื่องมือคุณภาพ Medical record safety review สรุปประโยชน์ การใช้เครื่องมือคุณภาพ Trigger marker Medical record safety review +  เป็นระบบที่ใช้เพื่อป้องกัน การเกิด adverse event ได้ดี โดยเฉพาะ การลด ปัญหาจาก competency ของผู้มีความชำนาญน้อยกว่า  เป็นการรวมระบบป้องกันความเสี่ยงหลายระบบในงานประจำ เช่น ระบบยา, Lab  เป็นเครื่องมือที่ใช้วัดความปลอดภัยของผู้ป่วยใน -เน้นผลลัพธ์ > กระบวนการ (ทำให้ลดการจับผิด, ความขัดแย้ง) - ทบทวนง่ายโดยเฉพาะในแพทย์ที่บันทึกระบบ DRG -ครอบคลุมการค้นหา adverse event ได้มาก พัฒนาต่อในทุกหน่วยงานของแต่ละ รพ. ที่มีลักษณะการดูแลผู้ป่วยคล้ายกัน, ขยายต่อใน non clinic พัฒนาต่อใน OPD Case, พัฒนาร่วมเป็นส่วนหนึ่งของใบ occurrence เพื่อลดการทำงานซ้ำซ้อนระหว่าง RM & CLT