แผนปฏิบัติการจัดซื้อ/จ้าง ที่ผู้บริหารควรรู้ !! กนผ.กบ.ทร. จัดทำเมื่อ 28 ต.ค.52 แผนปฏิบัติการจัดซื้อ/จ้าง ที่ผู้บริหารควรรู้ !!
หลักการในการจัดทำ แผนจัดซื้อจัดจ้าง องค์ประกอบของ แผนจัดซื้อจัดจ้าง กระบวนการทำ แผนจัดซื้อ/จ้าง ข้อมูลที่จำเป็น ต้องระบุในแผนฯ การจัดทำ แผนจัดซื้อจัดจ้าง
กระบวนการทำแผนจัดซื้อ/จ้าง กำหนดความต้องการ ของบประมาณ จัดทำแผน สปช.ทร. หน่วย สำนัก งบประมาณ หน.กลยุทธ์ หน.กลยุทธ์ หน่วย ครม. สปช.ทร. หน.กลยุทธ์ สภาฯ สปช.ทร. ทร. จัดซื้อ/ จัดจ้าง ทร. สำนัก งบประมาณ ประกาศ ใช้ พ.ร.บ. กห.
หลักการในการจัดทำแผนจัดซื้อจัดจ้าง ความเหมาะสม(Suitability) มีความจำเป็น เป็นไปตามนโยบาย บรรลุเป้าหมาย หลักการ จัดทำแผน ความเป็นไปได้(Capability) มีงบประมาณ พอเพียง วิธีการ ถูกต้อง มีผู้ดำเนินการ แน่นอน ความยอมรับได้(Acceptability) มีความคุ้มค่า มีความเสี่ยงน้อย
องค์ประกอบของแผนจัดซื้อจัดจ้าง เหตุผลและความจำเป็น รายละเอียดของพัสดุ/งาน ราคากลาง/ราคามาตรฐาน องค์ประกอบ ของแผน วงเงิน วิธีการ กำหนดเวลา หน่วยถืองบประมาณ
การจัดทำแผนจัดซื้อจัดจ้าง กันเงิน/เบิกเหลื่อมปีน้อยที่สุด งานอะไร จัดซื้อ จ้างซ่อม จ้างก่อสร้าง พัสดุทั่วไป ภายในประเทศ แบบ การจัดทำ แผน - ภายในประเทศก่อน - จึงต่างประเทศ พัสดุพิเศษ ประมาณการ วิธีอะไร ดูวงเงิน แยกซื้อ? อ./ส.(ดูดี) ก./พ.(ระวังดีๆ) กรอบเวลา ปฏิบัติได้จริง ทันเวลา ใช้งาน กันเงิน/เบิกเหลื่อมปีน้อยที่สุด
ข้อมูลที่จำเป็นต้องระบุในแผนฯ จำนวน และ หน่วยนับ ของ พัสดุที่จะจัดซื้อ ราคาพัสดุ ต่อหน่วย วิธีการ จัดซื้อ/จ้าง วงเงินที่จะจัดซื้อ/จ้าง กำหนดออกประกาศเชิญชวน กำหนดลงนามในสัญญา กำหนดส่งมอบพัสดุ หน่วยถืองบประมาณ รายการพัสดุ
รายการพัสดุ ต้องเป็นชื่อพัสดุที่จะจัดซื้อ โดยสื่อให้ทราบว่าต้องการซื้ออะไร กำหนดว่าเป็นการจัดซื้อ หรือ จ้าง ตัวอย่าง จัดซื้อรถยนต์โดยสารขนาดเล็กปรับอากาศ จ้างซ่อมแซมห้องน้ำชาย กบ.ทร. จ้างตัดเย็บชุดกลาสี จ้างก่อสร้างอาคารกองรักษาการณ์
จำนวน และ หน่วยนับ ระบุจำนวนที่จะจัดซื้อ หน่วยนับ ให้ เป็นไปตามระเบียบ ทร. ว่าด้วยการพัสดุ ฯ ตัวอย่าง รถยนต์ -> “คัน” / อาคาร -> “หลัง” รั้ว -> “เมตร” / อุปกรณ์ -> “เครื่อง” จ้างซ่อมอาคาร โดยทั่วไปจะใช้ “งาน”
ราคาต่อหน่วย ราคาที่จะจัดซื้อ/จ้างซ่อมพัสดุ ต่อ 1 หน่วยนับ ราคาที่จะจัดซื้อ/จ้างซ่อมพัสดุ ต่อ 1 หน่วยนับ ราคามาตรฐานครุภัณฑ์ ตามที่กระทรวงการคลังกำหนดการ พัสดุตามสายต่างๆ เป็นหน้าที่ของ หน่วยเทคนิคกำหนดราคากลาง การใช้ราคาตามท้องตลาดทั่วไป สามารถยอมรับได้ในกรณีเร่งด่วนเท่านั้น การจัดซื้อ/จ้างในต่างประเทศ (สน.ผชท.ฯ) ให้ใช้ราคาในท้องถิ่น
วิธีการจัดซื้อ/จ้าง เป็นไปตามระเบียบฯ 1 วิธีตกลงราคา ไม่เกิน 100,000 บาท 2 วิธีสอบราคา มากกว่า 100,000 – 2,000,000 บาท 3 วิธีประกวดราคา/ประมูลทางอิเล็กทรอนิกส์ มากกว่า 2,000,000 บาท 4 วิธีพิเศษ เกิน 100,000 บาท 5 วิธีกรณีพิเศษ การซื้อ/จ้างจากส่วนราชการหรือรัฐวิสาหกิจ
วงเงินที่จะจัดซื้อ/จ้าง จำนวนเงินที่ประมาณการว่า จะออกเรื่องจัดซื้อ/จ้างในรายการพัสดุนั้น คำนวณจาก จำนวน X ราคาต่อหน่วย เป็นตัวกำหนดวิธีการจัดซื้อ/จ้าง
กำหนดออกประกาศเชิญชวน ช่วงเวลาที่คาดว่าจะออกหนังสือเชิญชวน ให้ผู้ประกอบการเสนอราคาพัสดุ ที่ทางราชการต้องการจะจัดซื้อ
กำหนดลงนามในสัญญา ประมาณการช่วงเวลาที่คาดว่าจะสามารถ ผูกพันทำสัญญาจัดซื้อ/จ้างกับผู้ประกอบการ โดยสอดคล้องกับอำนาจการสั่งซื้อ/จ้าง ตามคำสั่ง กห.ที่ 50/50
กำหนดส่งมอบพัสดุ ช่วงเวลาที่คาดว่าจะได้รับพัสดุมาใช้งาน ต้องสอดคล้องกับการกำหนด ความต้องการของหน่วยผู้ใช้
หน่วยถืองบประมาณ ตามระเบียบ ทร.ว่าด้วยการพัสดุ กำหนดให้หน่วยเทคนิค มีหน้าที่ ดำเนินการเกี่ยวกับพัสดุ ตั้งแต่ กำหนดคุณลักษณะเฉพาะ จัดหา เก็บรักษา แจกจ่าย และ จำหน่วยพัสดุ นขต.ทร. และ หน่วยเฉพาะกิจ สามารถเป็นหน่วยถืองบประมาณได้ ในกรณีที่จำเป็น