แผนยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพ เครือข่ายบริการสุขภาพที่ ๖ Service Plan บริการปฐมภูมิ ทุติยภูมิ สุขภาพองค์รวม ทพ.อนุโรจน์ เล็กเจริญสุข ทันตแพทย์เชี่ยวชาญ.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ตำบลนมแม่เพื่อสายใยรักแห่งครอบครัว
Advertisements

รายงานข้อสั่งการ ข้อสั่งการ ๑. การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ
เป้าหมาย ตัวชี้วัด ปี 2557.
(๑๕) (๑๓) (๑๔) (๑๒) ภาคี เครือข่าย (๑๐) (๑๑) (๙) กระบวน (๗) การ (๖)
การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ
ดร. ธนวรรธน์ อิ่มสมบูรณ์
การประชุมเชิงปฏิบัติการ สร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
นโยบาย 1) มีระบบข้อมูลสุขภาพผู้ป่วยในพื้นที่ ที่เป็นปัจจุบัน และสามารถเชื่อมโยงระหว่าง รพ.สต.กับ รพ.แม่ข่ายได้ 2) ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงมีการลงทะเบียนที่
ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ทิศทางการจัดการศึกษา โรงเรียนเจริญราษฏร์วิทยา
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
ตามแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์(SRM) สู่การ ปฏิบัติการในพื้นที่
ประเด็นยุทธศาสตร์ กินร้อน ช้อนกลาง ล้างมือ ดื่มน้ำสะอาด
การส่งเสริมสุขภาพและการควบคุมป้องกันโรค ในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
ความหมายและกระบวนการ
สวัสดีครับ.
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ถอดบทเรียนความก้าวหน้า ในการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สู่การปฏิบัติ
ประชาชน ภาคี กระบวนการ พื้นฐาน
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
กำหนดเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553
ระดับพื้นฐาน (Learning /Development)
นพ.ก้องภพ สีละพัฒน์ ผู้นิเทศงานปฐมภูมิ
แนวทางการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล เขต 5
โดย ทันตแพทย์หญิงภารณี ชวาลวุฒิ โรงพยาบาลสวนปรุง
การสร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
แผนปฏิบัติราชการ พ.ศ ของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ
คณะที่ ๒ การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ ชื่อตัวชี้วัด : ร้อยละของจังหวัดที่มี ศสม. ในเขตเมืองตามเกณฑ์ที่กำหนด ( ไม่น้อย กว่า ๗๐ )
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
รพสต. ความปลอดภัยผลิตภัณฑ์ พฤติกรรม การโฆษณา การบริโภค หลอกลวง
สรุปการประชุม เขต 10.
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
พัฒนาคุณภาพโรงพยาบาล
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
สรุปกิจกรรมการประชุมวันที่ 6 ตุลาคม 2553
ทิศทาง การทำงาน๒๕๕๔ นพ.นิทัศน์ รายยวา 1.
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ปฏิบัติการ(SLM) ร่วมสองกรม
นโยบายด้านบริหาร.
วิเคราะห์บริบท / สถานการณ์
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
แนวทางในการประเมินความพร้อม เพื่อสนับสนุนการดำเนินงานตามนโยบาย
การบริหารและพัฒนาบุคลากร ในหน่วยบริการปฐมภูมิ เขต ๘
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
การดำเนินงานระบบสุขภาพอำเภอ (DHS) ตามนโยบาย กระทรวงสาธารณสุข
มีการอบรมป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น
วิสัยทั ศน์ เป็นองค์กรที่เป็นเลิศด้าน การแก้ไขปัญหาสุขภาพจิตจาก แอลกอฮอล์ของประเทศและ พัฒนาระบบบริการสุขภาพจิต และจิตเวชในเครือข่ายบริการ สุขภาพจิตที่
การเชื่อมโยงนโยบายบริการสุขภาพลงสู่อำเภอ, ตำบล
แผนพัฒนาระบบบริการ สาขาบริการปฐมภูมิ
การวางแผนยุทธศาสตร์.
ทีมหมอประจำครอบครัว (Family care team) ดูแลถ้วนทั่วทุกกลุ่มวัย
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
ผังจุดหมายปลายทาง การพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค (PP) กองทุนหลักประกันสุขภาพ ระดับท้องถิ่น และเทศบาลเมืองรังสิต จ.ปทุมธานี ภายในปี พ.ศ
กลยุทธ์การขับเคลื่อน งานพัฒนาชุมชน ให้มีประสิทธิภาพ ประจำปี ๒๕๕๖
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
(Evaluation) มุมมองประชาชน มุมมองภาคี (Stakeholder) มุมมองกระบวนการ
แผนงานส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุของพัทลุง
"วาริชภูมิน่าอยู่ ผู้คนสุขภาพดี ภาคี เข้มแข็ง"
และการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ ประจำปี ๒๕๕๕ สาธารณสุขอำเภอป่าติ้ว
รายละเอียดของระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
กลุ่มที่ 2 กลุ่มพัฒนาภาคีเครือข่าย สคร.1-12
ประชาชน “อุ่นใจ” มีญาติทั่วไทย เป็นทีมหมอครอบครัว
แนวทางการพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคฯ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แผนยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพ เครือข่ายบริการสุขภาพที่ ๖ Service Plan บริการปฐมภูมิ ทุติยภูมิ สุขภาพองค์รวม ทพ.อนุโรจน์ เล็กเจริญสุข ทันตแพทย์เชี่ยวชาญ ด้านทันตสาธารณสุข สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดปราจีนบุรี

และสามารถพึ่งพาตนเอง วิสัยทัศน์ บริการปฐมภูมิเป็นที่ยอมรับ ประชาชนมีสุขภาพดี และสามารถพึ่งพาตนเอง ด้านสุขภาพ

แผนที่ยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ (Strategic Linkage Model : SLM) จุดหมายปลายทาง : ประชาชนมาใช้บริการที่หน่วยบริการปฐมภูมิเป็นอันดับแรก และมีพฤติกรรมที่พึงประสงค์ เป้าประสงค์๑.บริการปฐมภูมิเป็นที่ยอมรับของสังคม ประชาชนไปใช้บริการปฐมภูมิเป็นที่แรกด้วยความมั่นใจ กลยุทธ์๑.เสริมสร้างคุณค่าและการยอมรับระบบบริการปฐมภูมิ(เพื่อลดความแออัดของ รพ.แม่ข่าย/รพ.เขตเมือง) เป้าประสงค์๒ ประชาชนในเขตเมืองมาใช้บริการที่หน่วยบริการปฐมภูมิมากขึ้น กลยุทธ์๒.สร้างความเชื่อมั่นและแรงจูงใจ ในการมาใช้บริการที่หน่วยบริการปฐมภูมิเขตเมือง . เป้าประสงค์๓.ประชาชนมีพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ กลยุทธ์๓.ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของประชาชนให้เหมาะสม ประชาชน เป้าประสงค์๖ชุมชนท้องถิ่นมีมาตรการทางสังคมในการที่จะให้ประชาชนไปใช้บริการปฐมภูมิและมีพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม กลยุทธ์๖เสริมสร้างให้ชุมชนท้องถิ่นกำหนดมาตรการทางสังคมเพื่อให้ประชาชนมีพฤติกรรมสุขภาพและใช้บริการปฐมภูมิสอดคล้องกับบริบทของพื้นที่ เป้าประสงค์๔ ภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมในการจัดบริการปฐมภูมิแบบบูรณาการ กลยุทธ์๔ ส่งเสริมการจัดบริการปฐมภูมิโดยความร่วมมือจากทุกภาคส่วน (โดยมีแผนสุขภาพตำบลเป็นเครื่องมือในการบูรณาการเพื่อการเข้าถึงบริการส่งเสริมสุขภาพป้องกันโรคและรักษาขั้นพื้นฐาน) . เป้าประสงค์๕.มีหน่วยบริการปฐมภูมิที่เพียงพอและครอบคลุมโดยการมีส่วนร่วมจากภาคีในระดับพื้นที่ กลยุทธ์๕.จัดตั้งและพัฒนาศสม.เขตเมืองเพื่อการเข้าถึงบริการของประชาชน . ภาคี เป้าประสงค์๗หน่วยบริการปฐมภูมิได้มาตรฐานตามเกณฑ์ที่กำหนด กลยุทธ์๗พัฒนาหน่วยบริการปฐมภูมิตามเกณฑ์มาตรฐาน เป้าประสงค์๘บริการปฐมภูมิตอบสนองกลุ่มเป้าหมายสำคัญ(WECANDO) กลยุทธ์๘จัดบริการแบบองค์รวมให้ตอบสนองกลุ่มเป้าหมายสำคัญ(WECANDO) ได้อย่างมีประสิทธิภาพ เป้าประสงค์๙ระบบบริการปฐมภูมิมีความเชื่อมโยงและเป็นองค์รวม กลยุทธ์๙พัฒนาระบบเชื่อมโยงและระบบส่งต่อ ส่งกลับ กระบวนการ รากฐาน เป้าประสงค์๑๐มีระบบเทคโนโลยีสารสนเทศที่เอื้อต่อการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ กลยุทธ์๑๐พัฒนาระบบข้อมูลและปรึกษาทางไกล(Telemedicine) เป้าประสงค์๑๑บุคลากรในหน่วยบริการปฐมภูมิตระหนักในคุณค่าและศักดิ์ศรี กลยุทธ์๑๑สร้างขวัญกำลังใจ เพิ่มคุณค่าการยอมรับและศักดิ์ศรีแก่บุคลากร ในหน่วยบริการปฐมภูมิ

โครงการระดับเขต ๑. โครงการพัฒนาศูนย์สุขภาพชุมชนเขตเมืองให้ได้มาตรฐาน ลดความ แออัดของโรงพยาบาล ๒. โครงการพัฒนาหน่วยบริการปฐมภูมิให้ได้มาตรฐาน พร้อมให้บริการ ประชาชน ๓. โครงการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ (DHS) เพื่อระบบสุขภาพ ของชุมชนที่เหมาะสม ๔. โครงการพัฒนาและส่งเสริมให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมาย (WECANDO) ได้รับบริการที่มีคุณภาพและมีพฤติกรรมสุขภาพที่พึงปะสงค์ ๕. การพัฒนาศักยภาพบุคลากรหน่วยบริการปฐมภูมิ

การกำกับระดับเครือข่ายบริการที่ ๖ ๑. Self Assessment ตามเกณฑ์ ๕ ขั้นที่สอดคล้องกับบริบท CUP Profile ๒. วางแผนพัฒนายกระดับที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ปฐมภูมิเขต ๓. พัฒนาระบบงานผ่าน ODOP ๔. ประเมินผลการพัฒนาตามเกณฑ์ ๕ ขั้น ๕. พัฒนาทีมพี่เลี้ยงและทีมตรวจประเมินระดับเขต เพื่อรับรองผล การประเมินและพัฒนาอย่างต่อเนื่อง (CQI)

การดูแลกลุ่มเป้าหมาย WECANDO พัฒนาคน ระบบบริการ พัฒนาระบบนวัตกรรม DHS พัฒนาตามยุทธศาสตร์ ปฐมภูมิเขต การดูแลกลุ่มเป้าหมาย WECANDO พัฒนาคน ระบบบริการ พัฒนาระบบนวัตกรรม บรรลุวิสัยทัศน์ ประเมินแผนยกระดับ ๕ ขั้น

สวัสดี ครับ