การทำงานสนับสนุนงาน PP ของศูนย์วิชาการเขต

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ผลประเมินสถานภาพและ ข้อเสนอมาตรการสร้างความเข้มแข็ง IBC ของประเทศไทย
Advertisements

ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
สำนักพัฒนาการเงินการคลังสาธารณสุข
ระบบการประเมินเพื่อพัฒนาผลการปฏิบัติงาน บุคลากรสายสนับสนุน
ปทิตตา มีชิตสม นักวิชาการพัฒนาชุมชนชำนาญการ
ข้อควรคำนึงในการสร้างเครือข่าย
บทบาทสภาข้าราชการมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
เทคนิคการบริหารงานด้านการเงินและบัญชี
หลักการพัฒนา หลักสูตร
ความหมาย ปรัชญาและวัตถุประสงค์ ของงานส่งเสริมการประมง
แบบประเมินระดับความสำเร็จของการจัดการความรู้ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2553
ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
มีหน้าที่เชื่อมโยงผู้คน/หน่วยงานเข้าหากัน
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
ลักษณะและประเด็นวิจัย สำหรับคณาจารย์สถาบันอุดมศึกษา
Competency Phatthalung Provincial Center for Skill Development.
หมวด2 9 คำถาม.
1. การดำเนินงานในรูปแบบคณะกรรมการ/คณะทำงาน
บทบาท “ Six Key Function” ในจังหวัดภาคกลางตะวันตก
กลุ่มโภชนาการประยุกต์
สะท้อนประสบการณ์ / ถอดบทเรียน
โรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน (รนสช.)
โครงการริเริ่มสร้างสรรค์ ปี พ.ศ.2557 สำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอร้องกวาง
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
บทที่ 12 การเปลี่ยนแปลง และการพัฒนาองค์การ.
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
วันที่ถ่ายทอด มีนาคม 2548 สถานที่ถ่ายทอด โรงแรมเทวราช อ.เมือง จ.น่าน
เอกสารประกอบการประชุมผู้บริหารกรมควบคุมโรค
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
ข้อ Comment โครงการ Teenaqe Mother จากผู้ตรวจราชการ 1. การสร้างความเข้าใจ และประสานความ ร่วมมือกับองค์กรภาคี - define บทบาทให้ชัดเจน ตีบทให้แตก แจก บทให้ผู้เกี่ยวข้องและสร้างความเข้าใจ.
กลุ่มที่ ๓ เรื่อง โรคไม่ติดต่อ
สรุปการประเมินกระบวนการทำงานส่งเสริมสุขภาพ เรื่อง แผนบูรณาการในภาพรวม
องค์กรนำการปศุสัตว์ไทย
การปรับแนวคิดพื้นฐานเรื่องการ สนับสนุนของกองทุนฯตำบล รูป แบบเดิม รูปแบบ ใหม่
กลุ่มข้อมูลข่าวสารสุขภาพ สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข
Participation : Road to Success
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
สรุปแนวทาง การระดมความคิดเห็น กลุ่มย่อยที่ 4
การบริหารเชิงยุทธศาสตร์
การสร้างความเข้มแข็งของ ระบบสนับสนุนยุทธศาสตร์. ความจริงที่เป็นอยู่ ( มายาวนาน )
สำนัก เลขา. ผลการปฏิบัติงาน ประจำเดือนตุลาคม 2548.
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
สรุปบทเรียนโครงการเอดส์ ด้าน CARE
มาตรฐานการควบคุมภายใน
กลุ่มที่ 1.
สถานประกอบการสร้างเสริมสุขภาพ
นโยบายการดำเนินงาน “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” ปีงบประมาณ 2556
เครือข่ายการ พัฒนา ทรัพยากร มนุษย์ สุริยะ วงศ์คง คาเทพ.
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
ศูนย์จัดการศัตรูพืชชุมชน
แนวทางดำเนินงานจัดการความรู้ในงานส่งเสริมการเกษตร ให้ประสบผลสำเร็จ
ดร.พรธิดา วิเศษศิลปานนท์
บทเรียนการดำเนินการ กองทุนทันตกรรม ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี
ภายใต้โครงการลงทุนด้านการศึกษาและการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์ ตามแผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 แผนฟื้นฟูเศรษฐกิจ ระยะที่ 2 : โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา.
วิธีการเขียนรายงานการประเมิน
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
การเขียนข้อเสนอโครงการ
การควบคุมผลกาปฏิบัติงาน
การแปลงนโยบายและแผน นำสู่การปฏิบัติ
ตัวอย่างกิจกรรมภายใต้บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ระบบส่งเสริมการเกษตร
การพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
กลุ่มที่ 5 และกลุ่มที่ 12. สรุปกระบวนการและ ข้อเสนอแนะ การนิเทศ รพ. สต. รอบที่ 1 เป็นแนวคิดที่เน้นการนิเทศงานแบบ กระบวนการทำงานของแต่ละพื้นที่ ซึ่งไม่มีรูปแบบตายตัว.
กลุ่มที่ 2 กลุ่มพัฒนาภาคีเครือข่าย สคร.1-12
ให้โอกาสผู้เรียนมีส่วนร่วมรับผิดชอบ สร้างความมีวินัย การตรงต่อเวลา
ยุทธศาสตร์พัฒนาชุมชนน่าอยู่ เมืองน่าอยู่ ผลงาน ปี 2551 แผนงาน ปี 2552 ศูนย์อนามัยที่ 9 พิษณุโลก 2 กันยายน 2551.
โครงการจัดตั้ง กองแผนงาน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การทำงานสนับสนุนงาน PP ของศูนย์วิชาการเขต ภายใต้ระบบเขตสุขภาพ สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์ สำนักที่ปรึกษา กรมอนามัย เลขาธิการ มสช

ภาพรวมของระบบสุขภาพ นอกเหนือจากบทบาทหลัก 4 ด้านในระบบสุขภาพ บทบาทการพัฒนา และสนับสนุนทางวิชาการกับ ภาคีในระบบสุขภาพเป็นสิ่งสำคัญที่ต้องมี หน่วยงานรับผิดชอบอย่างจริงจัง Policy making Regulating Purchasing Providing Technical development and support 1/15/13 การสนับสนุนวิชาการเขตสุขภาพ

แนวคิด ศูนย์เขตกรมวิชาการ มีภาระกิจสำคัญในการ สนับสนุนทางวิชาการ แก่ภาคี ไม่ใช่หน่วย ปฏิบัติการตรง การสนับสนุนทางวิชาการทำได้หลายวิธี แต่สิ่ง สำคัญต้องทำให้เกิดการเรียนรู้ร่วมกัน และดีง ความรู้กับศักยภาพภาคีออกมาให้ได้มากที่สุด แทนที่จะใช้วิธีให้ความรู้ที่เรามี หรือบอกวิธีทำงาน ที่เราอยากเห็น 1/15/13 การสนับสนุนวิชาการเขตสุขภาพ

แนวคิด การติดตามความก้าวหน้าของงาน โดยใช้เป้าหมายเชิง outcome เป็นกลวิธีสำคัญของการ สร้างการเรียนรู้ร่วมกัน ไม่ควรใช้การติดตามกิจกรรม หรือเน้นแต่ output ด้วย การขอรายงาน เป้าหมายงานมาจากสองส่วน ส่วนกลาง (นโยบายชาติ) และมาจากการวิเคราะห์และตัดสินใจร่วมกันของกลไก ระดับเขต 1/15/13 การสนับสนุนวิชาการเขตสุขภาพ

แนวคิด รูปแบบการทำงาน (model) เพื่อให้ได้เป้าหมายในแต่ละ เรื่อง เป็นปัจจัยสำคัญที่ต้องเอาใจใส่ แต่ไม่ควรเริ่มจาก การสั่งการ หรือบอกโดยนักวิชาการ (explicit knowledge) แต่เริ่มจากการแลกเปลี่ยนความรู้และ ประสบการณ์/มุมมอง ร่วมกับภาคี (tacit knowledge) การติดตามความก้าวหน้า เป็นโอกาสที่ดีของการเรียนรู้ ร่วมกัน เพื่อปรับทั้งรูปแบบการทำงาน (model) และ วิธีการทำงาน (process/practices/how to) 1/15/13 การสนับสนุนวิชาการเขตสุขภาพ

รูปแบบ (model) เริ่มจากมีเป้าหมายงานที่ชัดเจน ต้อง Identify/define ภาคีสำคัญสำหรับการทำงานในแต่ละเรื่อง ทำให้ภาคีเห็นเป้าหมายร่วมกันให้ได้ (ประชุมโดยใช้ข้อมูลและมี การสื่อสารอย่างมีพลัง) สร้างแผนการทำงานของภาคี โดยเริ่มจาก ความรู้/ประสบการณ์ ของภาคี และผสมผสาน แนวคิด/วิธีการ ของนักวิชาการ ถ้าจำเป็น ติดตามความก้าวหน้า โดยดูจากเป้าหมายเชิง outcome แล้วนำ ข้อมูลที่ได้มาปรึกษาหารือ เพื่อปรับการทำงาน เริ่มจาก tacit และ ใช้ explicit knowledge ร่วมหากจำเป็น 1/15/13 การสนับสนุนวิชาการเขตสุขภาพ

รูปแบบ การทำให้เกิดระบบข้อมูลที่จะช่วยในการ monitor ได้ อย่างมีคุณภาพ จะเป็นองค์ประกอบสำคัญที่ต้องให้ ความสำคัญแต่เริ่มต้น การจัดกลไก และกำหนดกระบวนการที่จะทำให้ภาคีต่างๆ มารับรู้เป้าหมายร่วมกัน รับรู้ความก้าวหน้าในการทำงาน ร่วมกัน และแลกเปลี่ยนเรียนรู้กัน ในระหว่างการทำงาน เป็นปัจจัยสำคัญ ที่จะช่วยปรับรูปแบบและวิธีการทำงาน ของภาคีต่างๆให้เข้าสู่เป้าได้มากขึ้น 1/15/13 การสนับสนุนวิชาการเขตสุขภาพ

รูปแบบ (model) อย่าเริ่มจากการฝึกอบรม แจกเป้า หรือแจก งปม (ด้วย การให้ทำโครงการมาขอ งปม) แล้วขอรายงาน เพราะจะ ได้รายงานแต่ไม่เกิดผลประโยชน์ที่แท้จริงสำหรับ กลุ่มเป้าหมาย การออกเยี่ยมภาคี (เยี่ยมเสริมพลัง) เพื่อสร้างโอกาสการ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ที่ผสมผสาน explicit and tacit knowledge อย่างกลมกลืน จะเป็นการสร้างศักยภาพภาคี ที่มีคุณภาพ และยั่งยืน 1/15/13 การสนับสนุนวิชาการเขตสุขภาพ

รูปแบบ (model) มีการสร้าง และจัดหาเทคโนโลยี หรือเครื่องมือในการ ทำงานที่เหมาะสม (แบบสำรวจสถานการณ์ แบบประเมิน ภาวะสุขภาพ ฯลฯ)และให้ความรู้เพื่อให้ภาคีใช้เป็น นับเป็นการสนับสนุนทางวิชาการที่สำคัญ ระดมความร่วมมือจาก นักวิชาการภายนอกในเรื่องที่ เกี่ยวข้อง มาเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการทำงานร่วมกับ ภาคีในพื้นที่ เป็นปัจจัยสำคัญ ในการสร้างการยอมรับ และเกิดการรวมพลังระหว่างภาคีสำคัญๆ แทนที่จะได้ เพียงบางภาคี ในบางเรื่องเท่านั้น 1/15/13 การสนับสนุนวิชาการเขตสุขภาพ

แผนปฏิบัติการ ใช้เป้าหมายที่กำหนดจากส่วนกลาง (นโยบายประเทศ) เป็นตัวเริ่มต้น นอกจากเป้าหมายจากส่วนกลาง อาจต้องผสมผสาน เป้าหมายระดับเขตฯ (แต่ละเขตน่าจะมีกระบวนการ วางแผนเพื่อกำหนดเป้าเขต ที่เพิ่มเติมจากส่วนกลาง) นำเป้าหมายงานทั้งหมดมาวิเคราะห์ว่าเกี่ยวข้องกับภาคี กลุ่มใดบ้าง ทั้งภาคีในระบบบริการสุขภาพ และภาคีอื่น นอกระบบบริการ 1/15/13 การสนับสนุนวิชาการเขตสุขภาพ

แผนปฏิบัติการ ทำแผนปฏิบัติการสนับสนุนทางวิชาการ อย่างน้อยใน 2 ลักษณะ ทำแผนปฏิบัติการสนับสนุนทางวิชาการ อย่างน้อยใน 2 ลักษณะ แผนการติดตามประเมินผล และสร้างกระบวนการ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ เพื่อปรับวิธีการทำงานของแต่ละภาคี (ประชุมติดตามความก้าวหน้าและปรับวิธีทำงานเพื่อให้ เข้าเป้า) แผนพัฒนา/เสริมสร้างศักยภาพภาคี เพื่อกระตุ้นการ ทำงาน และสร้างการเรียนรู้แนวทางการทำงานอย่าง สม่ำเสมอ (เยี่ยมเสริมพลังภาคีเพื่อการทำงานอย่างมี คุณภาพ) 1/15/13 การสนับสนุนวิชาการเขตสุขภาพ

บทบาทหน้าที่อื่นๆของกรมวิชาการ การตั้งเป้าและกำหนดยุทธศาสตร์การทำงานในระดับเขต กรมวิชาการเขต ต้องมีระบบข้อมูลที่จะชี้เป้างานสำคัญที่ ต้องทำ (นอกเหนือจากที่กำหนดจากส่วนกลาง) กรมวิชาการเขตต้องมีความรู้ทางเทคนิค (หรือสามารถหา นักวิชาการภายนอกที่มีความรู้) ที่จะช่วยให้ภาคีสามารถ นำไปใช้ประกอบการกำหนดยุทธศาสตรทำงานให้ได้ผล สอดคล้องกับเป้า (นอกเหนือจาก tacit knowledge ของ ภาคีที่มีอยู่เดิม) 1/15/13 การสนับสนุนวิชาการเขตสุขภาพ

บทบาทหน้าที่อื่นๆ การพัฒนาความรู้ทางเทคนิคเพื่อการแก้ปัญหา และการถ่ายทอด ให้เกิดความเข้าใจและสามารถนำไปปรับใช้ การทำการศึกษาวิจัยให้ได้รูปแบบการแก้ปัญหาที่ได้ผล (model development) การทำคู่มือ และ/หรือ เครื่องมือประกอบการทำงานตาม model ที่ พัฒนาขึ้นเพื่อให้ผู้ปฏิบัติงานเอาไปใช้ต่อ เพื่อแก้ปัญหาที่อยู่ใน เป้าหมาย เป็นหน้าที่โดยตรงของหน่วยวิชาการแต่ละด้านในส่วนกลางของ กรมวิชาการ 1/15/13 การสนับสนุนวิชาการเขตสุขภาพ

Group work – project plan 3 major concerns and actions to be specified/answered What infrastructure What HRD How much money 3 main results Coverage/achievement HRH quality – learning Completion within time frame 1/15/13 การสนับสนุนวิชาการเขตสุขภาพ