สายใยรักแห่งครอบครัว

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
พญ.มณฑา ไชยะวัฒน ศูนย์อนามัยที่4 ราชบุรี
Advertisements

ตำบลนมแม่เพื่อสายใยรักแห่งครอบครัว
ตำบลนมแม่ โมเดลการพัฒนาเด็กแบบองค์รวม
ดร. ธนวรรธน์ อิ่มสมบูรณ์
การประชุมเชิงปฏิบัติการ สร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
การประชุมเชิงปฏิบัติการ สร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
การส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ ในทัณฑสถานหญิงจังหวัดเชียงใหม่
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
การประชุมเชิงปฏิบัติการสร้างและใช้ แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
ตามแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์(SRM) สู่การ ปฏิบัติการในพื้นที่
ประเด็นยุทธศาสตร์ กินร้อน ช้อนกลาง ล้างมือ ดื่มน้ำสะอาด
การส่งเสริมสุขภาพและการควบคุมป้องกันโรค ในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
โครงการสายใยรักแห่งครอบครัว
โรงพยาบาลสายใยรัก แห่งครอบครัว
นโยบายการพัฒนาเด็กปฐมวัย
การพัฒนางาน อนามัยแม่และเด็ก ทิศทางก้าวไกล สู่ คุณภาพ มาตรฐาน และ ความปลอดภัย นพ.สมชาย เชื้อเพชระโสภณ ผู้ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุขเขต.
บทบาท “ Six Key Function” ในจังหวัดภาคกลางตะวันตก
การพัฒนาอนามัยแม่และเด็ก
โรงเรียน อสม.ตำบลหนองไม้แก่น
สวัสดีครับ.
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ประชาชน ภาคี กระบวนการ พื้นฐาน
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
การพัฒนาหลังจากมีการกำหนดค่ากลางของจังหวัด
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
กำหนดเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553
ระดับพื้นฐาน (Learning /Development)
นโยบาย/แนวทางการดำเนินงาน และกลุ่มหญิงตั้งครรภ์
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
การปรับแนวคิดพื้นฐานเรื่องการ สนับสนุนของกองทุนฯตำบล รูป แบบเดิม รูปแบบ ใหม่
การสร้างแผนที่ยุทธศาสตร์ปฏิบัติการย่อย (Mini-SLM)
การสร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
แผนหลัก สรุปทิศทาง. สสส. เปรียบเสมือน “น้ำมันหล่อลื่น” ที่ช่วยให้ ฟันเฟืองของกลไกสร้างเสริมสุขภาพทำงาน อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด.
ปัญหาและแนวทางการดำเนินงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ. สต
ทิศทาง การทำงาน๒๕๕๔ นพ.นิทัศน์ รายยวา 1.
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
สรุปบทเรียนโครงการเอดส์ ด้าน CARE
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ปฏิบัติการ(SLM) ร่วมสองกรม
วิเคราะห์บริบท / สถานการณ์
คำแนะนำการใช้ SLM ร่วมระหว่าง กรมอนามัยและควบคุมโรค  การจัดการทั่วไป 1. สสจ. จัดประชุมเพื่อพัฒนา SLM ร่วมเพิ่มเติม ผู้ เข้าประชุมประกอบด้วยคณะผู้แทนศูนย์อนามัย.
ส่งเสริมสัญจร.
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
นักโภชนาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ
การพัฒนาศักยภาพบุลากร ด้านการประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัย วันที่ กันยายน 2552 ณ ห้องประชุมคณาพันธ์ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอำนาจเจริญ.
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
สิ่งที่ต้องทำต่อ 1.นำเสนอผลสำเร็จของนโยบาย ปี นำเสนอนโยบายปี 55 และตัวชี้วัด สำคัญ ตามใบงานที่ 7 8และ 9 ประธาน : นพ.สสจ. วันที่ 13 ก.ย.54 เวลา 13.00น.
มีการอบรมป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น
ความสำเร็จของการทำงานอนามัยแม่และเด็ก
โครงการสายใยรักแห่งครอบครัว
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
ผังจุดหมายปลายทาง การพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค (PP) กองทุนหลักประกันสุขภาพ ระดับท้องถิ่น และเทศบาลเมืองรังสิต จ.ปทุมธานี ภายในปี พ.ศ
สกลนครโมเดล.
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
(Evaluation) มุมมองประชาชน มุมมองภาคี (Stakeholder) มุมมองกระบวนการ
บ้านเลขที่ 11/7 Family Model สิ่งแวดล้อมและสุขภาพ
4. ด้านการสื่อสาร 5. ด้านการพัฒนานโยบายสาธารณะ
Roadmap : การขับเคลื่อนระดับพื้นที่ เป็นอย่างไร ??
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
โรงพยาบาลสายใยรักแห่งครอบครัว
ประเด็นยุทธศาสตร์พัฒนาอนามัยแม่และเด็ก
“สังคมคุณภาพเพื่อผู้สูงอายุ”
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สายใยรักแห่งครอบครัว ตำบลนมแม่เพื่อ สายใยรักแห่งครอบครัว 1

เกิด เด็ก หนุ่ม รับปริญญา ทำงาน ตาย เจ็บป่วย แก่ชรา แต่งงาน เลี้ยงลูก บทบาท หน่วยงานสาธารณสุขคือการพัฒนา“คนตั้งแต่ก่อนปฏิสนธิในครรภ์มารดา เด็กปฐมวัย วัยเรียน วัยทำงาน ผู้สูงอายุ” เกิด เด็ก หนุ่ม รับปริญญา ทำงาน ตาย เจ็บป่วย แก่ชรา แต่งงาน เลี้ยงลูก 2

ความเชื่อมโยง ของกรอบการดำเนินงานเพื่อพัฒนาแม่และเด็ก สุขภาวะแม่และเด็ก ชุมชนต้นแบบ /ตำบลนมแม่ รพ.สายใยรัก ฯ จุดเริ่ม พฤติกรรมสุขภาพแม่และเด็ก คลินิก 3 วัยเด็กไทยฉลาด ขยายแนวคิดสู่ รพ.สต.

กรอบแนวคิดพัฒนาการเด็กสมวัย ลักษณะทางประชากร เศรษฐกิจ สังคม การศึกษา รายได้ อาชีพ ความรู้และเจตคติพัฒนาการ สถานภาพสมรส ลักษณะครอบครัว สัมพันธภาพในครอบครัว พฤติกรรมการอบรมเลี้ยงดูเด็ก การสร้างปฏิสัมพันธ์ การเล่านิทาน ร้องเพลงกล่อมเด็ก เล่นกับเด็ก เป็นแบบอย่างที่ดีแก่เด็ก การให้นมแม่ ความยากง่ายในการเลี้ยงดูเด็ก ระบบบริการ ของสถานบริการ เกณฑ์คุณภาพ พัฒนาการ เด็ก 0-5 ปี สมวัย ตัวเด็ก น้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม ภาวะโภชนาการ ขาดสารอาหาร การเจ็บป่วย เจ็บป่วยบ่อย อุบัติเหตุ (ความปลอดภัย) โอกาสของการได้เรียนรู้ การมีส่วนร่วมส่งเสริมพัฒนาการ ครอบครัว ชุมชน องค์กรต่างๆ ในชุมชน ความยากง่าย ของการเข้ารับบริการ เช่น การเดินทาง การเข้าถึงบริการ 4

คลินิก 3 วัยเด็กไทยฉลาด ณ สถานีอนามัย หรือ รพ.สต. คลินิก 3 วัยเด็กไทยฉลาด ณ สถานีอนามัย หรือ รพ.สต. ปรึกษาก่อน แต่งงาน สืบสานดูแลครรภ์ รับขวัญเมื่อ แรกคลอด ยอดอาหารต้องนมแม่ พ่อ แม่ ศูนย์เรียนรู้ สู่ปัญญา เด็กพัฒนา สมวัย ปู่ ย่า ตา ยาย ลูก ลูก ย้ำกระตุ้นสุขภาพ วัยทำงาน ช่วยกันสานเพิ่มคุณค่าผู้สูงวัย เอาใจหนุนเมื่อวัยรุ่น ดีแน่แท้พัฒนาสมวัย

ต่างที่จุดทำ...นำสู่เป้าหมายเดียวกัน สรุปกระบวนการขับเคลื่อน การพัฒนาสุขภาพแม่และเด็ก Mgt ANC LR NICU MCH Board PP ครอบ ครัว WCC ชุมชน ภาคี เครือข่าย ต่างที่จุดทำ...นำสู่เป้าหมายเดียวกัน 4/4/2017 6

เครื่องมือที่ใช้ในการพัฒนางานอนามัยแม่และเด็ก มาตรฐาน รพ.สายใยรักฯ การประเมินรพ.สายใยรักฯ แนวทาง ศูนย์เด็กเล็กคุณภาพ เครื่องมือพัฒนา สุขภาพแม่และเด็ก เกณฑ์ชุมชน ตำบลนมแม่/ชุมชนต้นแบบ อนามัยแม่และเด็ก แนวทาง แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์แม่และเด็ก

ความจริงที่...ต้องพัฒนาสมองเด็กด้วยนมแม่ แรกเกิด 6 ปี อายุ 3 ปี 80% ของ synaptic connection เกิดขึ้นแล้ว เมื่ออายุ เกิน 10 ปีการเจริญของสมองลดลง การมีประสบการณ์ที่ดีทำให้เกิดการเชื่อมโยงของเส้นใยสมองได้ดีขึ้น

ความจริงที่...ต้องพัฒนาสมองเด็กด้วยนมแม่ ช่วง 10 ปีแรกของชีวิตสมองทำงานเป็น 2 เท่าของในผู้ใหญ่ ในช่วง 1 ปีแรกของชีวิต อาหารถูกนำมาใช้เพื่อการเจริญของสมอง 60% ..ดังนั้น อาหารที่ควรส่งเสริมมากสุด คือ นมแม่ และ เมื่อเด็กอายุ 3 ปี อาหารถูกนำมาใช้เพื่อพัฒนาสมอง 30% สิ่งแวดล้อมและพันธุกรรมมีอิทธิพลต่อการพัฒนาของเด็ก

ความจริงที่...ต้องพัฒนาสมองเด็กด้วยนมแม่ สิ่งแวดล้อมมีผลต่อสติปัญญา 40 – 70 % พันธุกรรม มีผลต่อสติปัญญา (IQ) 30 – 60 % ดังนั้นการเลี้ยงดูที่ถูกต้องมีความ สำคัญมาก สมองสามารถสร้าง เส้นใยประสาทเมื่อถูกกระตุ้นด้วยสิ่งแวดล้อมที่ดีและสมบูรณ์

สรุปคุณค่านมแม่ที่เด็กได้รับ นมแม่ คือ หยดแรกของสายใยรักแห่งครอบครัว ประโยชน์นมแม่ ลูกที่ได้กินนมแม่มีระดับสติปัญญามากกว่าลูกที่ไม่ได้กินนมแม่ 2 - 11 จุด เป็นวัคซีนสำเร็จรูป ที่ได้จากแม่ ลดการป่วยจากท้องเสีย ปอดบวม เยื้อหุ้มสมองอักเสบ โรคภูมิแพ้ เบาหวาน ลดโอกาสเกิดโรคภูมิแพ้ทำให้ลูกไม่ป่วยบ่อย ดีกว่าเด็กที่กินนมผสม 2 - 7 เท่า เป็นอาหารที่ดีที่สุดของทารก มีไขมันช่วยพัฒนาเซลล์สมอง การพูดคุยกับลูกขณะให้นมแม่ช่วยกระตุ้นประสาทสัมผัสทั้ง 5 ซึ่งจะช่วยส่งเสริมพัฒนาการ และความมั่นคงทางอารมณ์ของลูก ประหยัดเงินครอบครัวเฉลี่ยเดือนละ 2,500 บาทต่อเด็ก 1 คน

คาดว่า ตำบลนมแม่... จะเป็นคำตอบในเรื่องนี้...

ผลลัพธ์ เกณฑ์ตำบลนมแม่เพื่อสายใยรักฯ ตำบลนมแม่เพื่อสายใยรักแห่งครอบครัว ภายใต้โครงการสายใยรักแห่งครอบครัว ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯสยามมกุฎราชกุมาร ผลลัพธ์ เกณฑ์ตำบลนมแม่เพื่อสายใยรักฯ 1. ชุมชนมีมาตรการสังคม เช่น ฝากท้องเร็ว ลูกกินนมแม่ เล่าหรืออ่านนิทานให้ลูกฟัง 2. ชุมชนเฝ้าระวังปัญหาแม่และ เด็ก เช่น น้ำหนักและ ส่วนสูง หญิงตั้งครรภ์และเด็กแรกเกิด ถึง 5 ปี แม่หลังคลอดเลี้ยงลูก ด้วยนมแม่ 3. มีแผนชุมชนตำบลนมแม่ฯ 4. อัตราการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ ร้อยละ 60 5 มีกรรมการฯ 6. มีกองทุน สายใยรักแห่งครอบครัวก่อเกิดจากการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ เกิดสายใยผูกพันในครัวเรือนส่งผลให้เด็กมีพัฒนาการดี -ความร่วมมือของสถานบริการสู่ชุมชนในการดูแลต่อเนื่อง -ประชาชนมีส่วนร่วม/ดูแลสุขภาพตนเองและชุมชนทำให้เกิดความยั่งยืน -เด็กไทย IQ - EQ ดี หมายถึง ตำบลที่มีกระบวนการ ปกป้อง ส่งเสริม และสนับสนุนการเลี้ยงลูกด้วย นมแม่อย่างมีส่วนร่วมของชุมชน โดยมีภาคีเครือข่ายภาครัฐและเอกชนให้การสนับสนุน ช่วยเหลือกระตุ้นให้เกิดการดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง และ เป็นแหล่งเรียนรู้แก่ชุมชนอื่นๆ

โรงพยาบาล/ หน่วยบริการ ตำบลนมแม่ เพื่อสายใยรักแห่งครอบครัว ชุมชนมีแผนชุมชนนมแม่ ชุมชนมีข้อมูลและการเฝ้าระวังให้ลูกกินนมแม่ 3. ชุมชนประกาศกติกาสังคม “เลี้ยงลูกด้วยนมแม่” 4. อัตราการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่เพิ่มเป็น 60% 5. มีกรรมการ 6.มีกองทุน ท้องถิ่น/ชุมชน ครัวเรือน หน่วยงาน ขับเคลื่อน สนับสนุน ภาคีเครือข่าย “นมแม่” บทบาทการสนับสนุน กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข มูลนิธิศูนย์นมแม่ กระทรวงแรงงาน กระทรวงพัฒนาสังคมฯ กระทรวงมหาดไทย กระทรวงศึกษาธิการ 7. กระทรวงเกษตรฯ

แล้วจะทำให้เกิดสิ่งเหล่านี้..... ได้อย่างไร ? แล้วจะทำให้เกิดสิ่งเหล่านี้..... ได้อย่างไร ? 15

แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์... เพื่อการขับเคลื่อน ตำบลนมแม่ฯ จึงเป็นที่มา... กระบวนการจัดทำ... แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์... เพื่อการขับเคลื่อน ตำบลนมแม่ฯ 16

แผนที่ยุทธศาสตร์ แผนที่ยุทธศาสตร์ คือ จุดหมายปลายทางกับวิธีการปฏิบัติ ที่จะไปให้ถึงจุดหมายปลายทางนั้น เป็นเครื่องมือทางการบริหารที่มี การระบุองค์ประกอบอย่างชัดเจน จะระบุการมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้ ส่วนเสียทุกภาคส่วน เป็นเครื่องมือเชื่อมโยงระหว่างยุทธศาสตร์กับการ ปฏิบัติตามโครงการ

บทบาทของแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ ประชาชนปรับเปลี่ยนพฤติกรรม (จุดหมายปลายทาง) ทำอะไรได้ในการพัฒนาตนเอง ประชาชน/ชุมชน แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ บทบาทของภาคี กระบวนการบริหารจัดการ จะร่วมมือกันอย่างไร ควรเชี่ยวชาญเรื่องใด สมรรถนะขององค์กร จะพัฒนาอะไร

แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ 4 องค์ประกอบหลักและขั้นตอนของการจัดทำ แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ 19

องค์ประกอบ/ขั้นตอน ที่ 1 จุดหมายปลายทาง กำหนดเป็น 4 ระดับ

การกำหนดจุดหมายปลายทาง วิเคราะห์สถานการณ์/บริบท การพัฒนาของพื้นที่/องค์กรในปัจจุบัน “ความภาคภูมิใจหรือสิ่งดีดีของเราหรือในชุมชน/ท้องถิ่นเราในเรื่องการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ มีอะไรบ้างทั้งในเรื่องของบุคคล/สถานที่/หน่วยงานที่มาช่วยพัฒนา/สื่อวัสดุอุปกรณ์“ และความคาดหวังที่อยากให้เกิดขึ้นในอนาคต “เรา(ชุมชน/ท้องถิ่น)อยากให้เกิดการเปลี่ยนแปลงหรือมีผลการพัฒนาอะไร? เกิดขึ้นในองค์กรและพื้นที่ของเรา” 21

การที่จะเป็นตำบลนมแม่ ในชุมชนของเรา....เป็นอย่างไร การประเมินสถานการณ์ : เราอยู่ตรงไหนของการพัฒนา การที่จะเป็นตำบลนมแม่ ในชุมชนของเรา....เป็นอย่างไร อะไรคือสิ่งดี สิ่งที่เราภาคภูมิใจ และ อะไรคือ สิ่งที่ต้องการในอนาคต 3-5 ปีข้างหน้า (ที่ดีกว่าเดิม)

การวิเคราะห์สถานการณ์ สิ่งดีๆ ปัจจุบันเป็นอย่างไร สิ่งดีๆ ปัจจุบันอย่างไร ประชาชน กระบวนการ อนาคตที่ดีอยากเป็นอย่างไร อนาคตที่ดีอยากเป็นอย่างไร ตำบลนมแม่เพื่อสายใยรักแห่งครอบครัว สิ่งดีๆ ปัจจุบันอย่างไร สิ่งดีๆ ปัจจุบันอย่างไร อนาคตที่ดีอยากเป็นอย่างไร อนาคตที่ดีอยากเป็นอย่างไร ภาคีเครือข่าย รากฐาน

การสร้างแผนที่ความคิด(Mind Map) จากการวิเคราะห์สถานการณ์อดีตถึงปัจจุบัน /พร้อมความคาดหวังในอนาคต

จากนั้น... นำความคาดหวังจาก แผนที่ความคิด ลงในผังจุดหมายปลายทางใน 4 มิติ/มองมอง

กระบวนการ ประชาชน ภาคีเครือข่าย รากฐาน ผังจุดหมายปลายทาง “...........................”ภายในปี ......................... ประชาชน กระบวนการ ภาคีเครือข่าย รากฐาน

ระดับประชาชน/กลุ่มเป้าหมาย (มุมมองเชิงคุณค่า) ผังจุดหมายปลายทางการขับเคลื่อน “ตำบลนมแม่เพื่อสายใยรักแห่งครอบครัว” ภายในปี พ.ศ.2555 (ระยะ 2 ปี) กำหนดเมื่อ 16 พฤศจิกายน 2553 ระดับประชาชน/กลุ่มเป้าหมาย (มุมมองเชิงคุณค่า) ●ชุมชน/ท้องถิ่นมีแม่และครอบครัวตัวอย่างในการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ ●ชุมชน/ท้องถิ่นมีการดำเนินงาน “ตำบลนมแม่เพื่อสายใยรักแห่งครอบครัว”ต้นแบบตามเกณฑ์ที่กำหนด(มีแผนชุมชน/มีข้อมูลระบบเฝ้าระวัง/มีกติกาทางสังคม/กรรมการกองทุน/มีอัตราเลี้ยงลูกด้วยนมแม่เพิ่มเป็นร้อยละ 60) ●ชุมชน/ท้องถิ่นมีปราชญ์นมแม่เพื่อสายใยรักฯ ระดับภาคี(มุมมองเชิงผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย) ●อปท.สนับสนุนและร่วมดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง ●หน่วยงานภาครัฐ เอกชนและองค์กรพัฒนาเอกชน สนับสนุนการดำเนินงานตามบทบาท แบบบูรณาการ ●องค์กรชุมชน/ผู้นำชุมชน ขับเคลื่อนการดำเนินงาน ตำบลนมแม่เพื่อสายใยรักแห่งครอบครัว ระดับกระบวนการ (มุมมองเชิงกระบวนการภายใน) ●มีและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ในการวางแผนงาน/โครงการดำเนินงาน“ตำบลนมแม่” พร้อมกำกับอย่างมีประสิทธิภาพ ●มีการประชาสัมพันธ์และรณรงค์หลายรูปแบบอย่างต่อเนื่อง ●มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างเครือข่ายอย่างต่อเนื่อง ●มีการกำกับ ติดตาม ประเมินผลตามเกณฑ์ตำบลนมแม่ ระดับพื้นฐานองค์กร/ชุมชน (มุมมองเชิงการเรียนรู้และพัฒนา) ●มีระบบข้อมูลอนามัยแม่และเด็กที่ถูกต้อง ครบถ้วนเป็นปัจจุบันและสามารถเข้าถึงได้ง่าย ●มีความรู้และทักษะที่เหมาะสมในดำเนินงานตำบลนมแม่ฯ ●มีการปรับเปลี่ยนทัศนคติและความเชื่อให้ถูกต้องต่อการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ ●มีการทำงานเป็นทีมแบบสหวิชาชีพ 27

ขั้นตอนที่ 2 : ของการสร้าง แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ ขั้นตอนที่ 2 : ของการสร้าง แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ แผนที่ SLM 28

นำความคาดหวังจากจุดหมายปลายทางใน 4 มิติ/มองมอง นำความคาดหวังจากจุดหมายปลายทางใน 4 มิติ/มองมอง...ลงในแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ (SLM)

ภาคี กระบวนการ พื้นฐาน แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ปฏิบัติการ(SLM) การขับเคลื่อน “ตำบลนมแม่เพื่อสายใยรักแห่งครอบครัว” ภายในปี พ.ศ. 2555 (ระยะ 2 ปี) กำหนดเมื่อ 16 พฤศจิกายน 2553 มีความเข้มแข็งและต่อเนื่องในการดำเนินงานตำบลนมแม่เพื่อสายใยรักแห่งครอบครัวสู่ความยั่งยืน ชุมชน/ท้องถิ่นพัฒนา“ตำบลนมแม่เพื่อสายใยรักแห่งครอบครัว”ต้นแบบตามเกณฑ์ที่กำหนด ประชาชน ชุมชน/ท้องถิ่น มีแม่และครอบครัวตัวอย่างในการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ ชุมชน/ท้องถิ่นมีปราชญ์นมแม่เพื่อสายใยรักแห่งครอบครัว หน่วยงานภาครัฐ เอกชนและองค์กรพัฒนาเอกชน สนับสนุนการดำเนินงานตามบทบาทแบบบูรณาการ องค์กรชุมชน ขับเคลื่อนการดำเนินงาน ตำบลนมแม่เพื่อสายใยรักแห่งครอบครัว ภาคี อปท.สนับสนุนและร่วมดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง ประชาสัมพันธ์และรณรงค์อย่างต่อเนื่อง แลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างกลุ่มและเครือข่าย กำกับ ติดตาม ประเมินผลตามเกณฑ์ตำบลนมแม่ กระบวนการ มีและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ตำบลนมแม่ จัดระบบข้อมูลอนามัยแม่และเด็กที่ถูกต้องและเป็นปัจจุบัน ปรับเปลี่ยนทัศนคติ ความเชื่อในการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ พื้นฐาน สร้างความรู้และทักษะบุคลากรทุกระดับ สร้างทีมดำเนินงาน “ตำบลนมแม่ฯ” 30

ตารางนิยามเป้าประสงค์ 11 ช่อง ขั้นตอนที่ 3 : ของการสร้าง แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ ตารางนิยามเป้าประสงค์ 11 ช่อง 31

นำแผนที่ยุทธศาสตร์ สู่การปฏิบัติจริง ขั้นตอนการสร้างนวัตกรรม/ตัวชี้วัด เมื่อเราได้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ 2 ปี (SLM) นำแผนที่ยุทธศาสตร์ สู่การปฏิบัติจริง ขั้นตอนการสร้างนวัตกรรม/ตัวชี้วัด นิยามเป้าประสงค์/ตารางแผนปฏิบัติการ (11 ช่อง)

ดำเนินการโดยท้องถิ่น/ชุมชน 34

กิจกรรมสำคัญนำไปสร้างแผนปฏิบัติการ KPI ต้องตอบสนองเป้าประสงค์ในช่อง 1 และมีฐานที่มาจากมาตรการในช่องที่ 4 และ 5 ด้วย

กิจกรรม/ข้อตกลงที่ภาคีเครือข่ายทำร่วมกัน ช่วยกัน...วิเคราะห์สถานการณ์/กำหนดความคาดหวังของ แต่ละตำบล..เพื่อทราบตัวตนเรา...สิ่งที่อยากจะเห็น พิจารณา..จุดหมายปลายทาง/แผนที่ทางเดิน ยุทธศาสตร์ฉบับของตำบลเป้าหมาย เพื่อเติมเต็มให้สมบูรณ์และเหมาะสมกับบริบท 3. มอบหมายผู้รับผิดชอบหลักตามกล่องเป้าประสงค์ เพื่อจัดทำแผนปฏิบัติการตามตาราง 11 ช่อง 4. พิจารณาจัดลำดับความสำคัญการดำเนินงาน ในปีที่จะดำเนินการตามแผนปฏิบัติการ 5. สรุปแนวทาง/กำหนดรูปแบบการนิเทศติดตามฯ

สวัสดี