แนวทางการพัฒนามาตรฐาน ข้อมูลบริการสุขภาพ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
และเครือข่ายคอมพิวเตอร์
Advertisements

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
สำนักพัฒนาการเงินการคลังสาธารณสุข
โปรแกรมรหัสข้อมูลสุขภาพด้านการแพทย์แผนไทย
รายงานการวิจัย.
ยุทธศาสตร์การพัฒนาหน่วยบริการปฐมภูมิ
ข้อควรคำนึงในการสร้างเครือข่าย
เกณฑ์คุณภาพเครือข่ายบริการปฐมภูมิ
Thesis รุ่น 1.
การพัฒนาตัวชี้วัดสุขภาพผู้สูงอายุ: กรณีศึกษาจังหวัดลำพูน Development of Elderly Health Indicators in Thailand.
การจัดทำระบบข้อมูลสุขภาพพื้นที่ : จังหวัดลำพูน
ระบบข้อมูลการป่วย ระบบงานที่เกี่ยวข้องกับข้อมูลสาเหตุภายนอก ที่ทำให้บาดเจ็บ ระบบรายงาน ระบบฐานข้อมูลผู้ป่วยในรายบุคคล.
Thai National Drug Code
Personal Data eXchange
สำนักบริหาร การมีส่วนร่วมของประชาชน
มาตรฐานการศึกษา วีระ อุสาหะ.
HA คืออะไร วัตถุประสงค์: เพื่อให้ผู้เรียน
หลักการและเหตุผล แผนกลยุทธ์และแผนงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธ์ศาสตร์ของกรมส่งเสริมสหกรณ์ ปี เป็นแผนที่จัดทำขึ้นจากการมีส่วนร่วมของคณะทำงานซึ่งเป็นผู้แทนของหน่วยงานในสังกัดกรมฯทั้งส่วนกลางและส่วนภูมิภาค.
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
การจัดการเรียนรู้โดยใช้กรณีศึกษา (Case Study Method)
บทที่ 8 การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ
เพื่อการกำหนดระดับตำแหน่ง
การออกแบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
ประชาชน ภาคี กระบวนการ พื้นฐาน
ศูนย์สารสนเทศแห่งชาติ
การพัฒนาระบบ Datacenter
ความคาดหวังหลังการประชุมฯ ครั้งนี้
การพัฒนา หน่วยบริการปฐมภูมิ
สรุปการประเมินกระบวนการทำงานส่งเสริมสุขภาพ เรื่อง แผนบูรณาการในภาพรวม
แนวทางการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล เขต 5
การใช้ระบบภูมิสารสนเทศเพื่อการวางแผน พัฒนาพื้นที่ในเขตปฏิรูปที่ดิน
ประเด็นที่ 1 ให้ทบทวนโยบายแนว ทางการดำเนินงานที่ ผ่านมา ของ ส. ป. ก. พร้อมทั้งวิเคราะห์ ปัญหาอุปสรรค และ แนวทางแก้ไข 1. กิจกรรมการจัดที่ดินและคุ้มครองพื้นที่
การพัฒนาระบบการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก
System Development Lift Cycle
การเก็บข้อมูลสู่ฐานข้อมูลและ การนำไปใช้กรณีตัวอย่างข้อมูลจากปะเหลียน
ทางเลือกใหม่ ของ การตรวจสอบสิทธิ.
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เขต ๑๑ สุราษฎร์ธานี
การสร้างแผนงาน/โครงการ
การปรับแนวคิดพื้นฐานเรื่องการ สนับสนุนของกองทุนฯตำบล รูป แบบเดิม รูปแบบ ใหม่
การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ
(ส่วนที่เกี่ยวข้องกับพื้นที่)
แนวทางการ ดำเนินงานที่สำคัญ ตุลาคม พันธกิจ สวรส.  สร้าง / จัดการความรู้เพื่อการ พัฒนาระบบสุขภาพ  เน้นการวิจัยเชิงระบบ (system approach) และวิจัยในประเด็นปัญหาสำคัญของระบบ.
สรุปแนวทาง การระดมความคิดเห็น กลุ่มย่อยที่ 4
ปัญหาและแนวทางการดำเนินงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ. สต
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
การพัฒนาคุณภาพตามเกณฑ์ PCA หน่วยบริการปฐมภูมิ
โครงการ/กิจกรรมสำคัญในปี 2557 สิ่งที่ CUP/อำเภอดำเนินการ
การจัดทำและรายงานข้อมูล แบบ  รง  ปีงบประมาณ 
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 10
กลุ่มที่ 3 การทำงานร่วมกันระหว่างองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
กลุ่ม 3 ผู้นำเสนอ นายปรีชา คงเกลี้ยง เกษตรอำเภอเมืองชลบุรี
บันได 3 ขั้น ความสำเร็จในการพัฒนาคุณภาพ
บทเรียนการดำเนินการ กองทุนทันตกรรม ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี
ข้อคำถามที่ 1 จงตอบคำถามต่อไปนี้
แนวทางในการประเมินความพร้อม เพื่อสนับสนุนการดำเนินงานตามนโยบาย
จะเริ่มอย่างไร ? จุดเริ่มต้นของการปฏิรูประบบสุขภาพระดับอำเภอ อยู่ที่การกำหนดค่ากลางของความสำเร็จของโครงการสุขภาพระดับเขต เพื่อส่งมอบให้จังหวัดนำเข้าสู่กระบวนการ(1)
วิสัยทั ศน์ เป็นองค์กรที่เป็นเลิศด้าน การแก้ไขปัญหาสุขภาพจิตจาก แอลกอฮอล์ของประเทศและ พัฒนาระบบบริการสุขภาพจิต และจิตเวชในเครือข่ายบริการ สุขภาพจิตที่
15-16 ตุลาคม 2557 รพ.เทพรัตน์ จังหวัดนครราชสีมา
คู่มือการบันทึกข้อมูล 43+7แฟ้ม กลุ่ม 05. ข้อมูลบริการผู้ป่วยใน
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
คำแนะนำสำหรับกระทรวง สาธารณสุข  จุดเริ่มต้นของการปฏิรูประบบ สุขภาพระดับอำเภอ อยู่ที่การ กำหนดค่ากลางของ ความสำเร็จของโครงการ สุขภาพระดับเขต เพื่อส่ง มอบให้จังหวัดนำเข้าสู่
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
กลุ่ม A2 “ข้าวเด้ง”.
นโยบายและการ ขับเคลื่อน วัตถุประสงค์ หลัก.
กลุ่มวิจัยและพัฒนาสหกรณ์
ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข
โครงการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศที่ดำเนินการในปีงบประมาณ 2553
แนวทางพัฒนางานประจำ สู่งานวิจัย
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แนวทางการพัฒนามาตรฐาน ข้อมูลบริการสุขภาพ

มาตรฐานข้อมูลสุขภาพ มาตรฐานการจำแนกประเภทและรหัส (classification and coding standard) มาตรฐานโครงสร้างข้อมูล (data structure standard)

มาตรฐานโครงสร้างข้อมูล ชุดข้อมูลและรายการข้อมูล (dataset and data elements) รูปแบบของข้อมูล (data format) ฐานข้อมูล native databases เช่น .dbf ข้อความ (text format) มาตรฐาน XML มาตรฐาน HL7

มาตรฐานข้อมูลบริการสุขภาพ มาตรฐานข้อมูลบริการระดับโรงพยาบาล มาตรฐานข้อมูลบริการระดับปฐมภูมิ (สอ.และ PCU)

แนวทางการพัฒนามาตรฐานข้อมูลบริการสุขภาพ พัฒนาเครื่องมือและส่งเสริมการเรียนรู้สู่มาตรฐานใหม่ (native databases, text -> XML -> HL7) โดยใช้ชุดข้อมูลเดิม พัฒนา Training module สำหรับสถานพยาบาล ศึกษาและพัฒนารูปแบบการใช้มาตรฐานข้อมูล (XML, HL7) เพื่อการส่งต่อข้อมูลระหว่างสถานพยาบาล

แนวทางการพัฒนามาตรฐานข้อมูลบริการสุขภาพ พัฒนามาตรฐานกลางข้อมูลบริการสุขภาพ (core standard dataset) เชื่อมโยงกับข้อมูลที่จัดเก็บโดยหน่วยงาน (working dataset) เพื่อการแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างสถานพยาบาล เพื่อการแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างพื้นที่ เพื่อการแลกเปลี่ยนและรวมข้อมูลระหว่างกองทุน เพื่อการส่งต่อข้อมูลระหว่างพื้นที่กับส่วนกลาง เพื่อการวิเคราะห์ข้อมูลและใช้ประโยชน์ในวงกว้าง

พัฒนามาตรฐานกลางข้อมูลบริการสุขภาพ ขั้นตอนการพัฒนามาตรฐานกลาง การทบทวนโครงสร้างข้อมูลเดิม (12 แฟ้ม 18 แฟ้ม 3 กองทุน) การศึกษาความต้องการใช้ประโยชน์ และความเป็นไปได้ในการจัดเก็บข้อมูล กำหนดมาตรฐานชุดข้อมูลและรายการข้อมูลกลาง โดยการตกลงร่วมกันระหว่างภาคีและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง กำหนดรูปแบบมาตรฐานข้อมูล (native database, XML, HL7) กระบวนการรับฟังความคิดเห็นในวงกว้าง

พัฒนามาตรฐานกลางข้อมูลบริการสุขภาพ ขั้นตอนการพัฒนามาตรฐานกลาง (ต่อ) พัฒนาเครื่องมือที่เกี่ยวข้อง (utility) ส่งเสริมการใช้มาตรฐานในระดับต่างๆ ร่วมกับการฝึกอบรม พัฒนาระบบจัดการข้อมูลตามมาตรฐานกลาง พัฒนาระบบการใช้ประโยชน์จากข้อมูลตามมาตรฐานกลาง ทบทวนและปรับปรุงมาตรฐานกลาง

ข้ออภิปราย ควรมีมาตรฐานกลางข้อมูลบริการสุขภาพ? มาตรฐานข้อมูลกลางควรจะมุ่งสู่มาตรฐาน XML? ควรใช้มาตรฐานเพื่อการแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างสถานพยาบาล? ควรใช้มาตรฐานเพื่อการจัดการฐานข้อมูลระดับชาติ? ใครบ้างควรมีส่วนร่วมเป็นเจ้าภาพในการจัดทำมาตรฐานข้อมูล?