“การสำรวจความคิดเห็นของนักศึกษา มจธ. ต่อการรับน้องในมหาวิทยาลัย”

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
พิชิตโครงงานวิทยาศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
Advertisements

โครงงาน เรื่อง การมีเพศสัมพันธ์ก่อนอันสมควร
หัวข้อรายงาน และอาจารย์ที่ปรึกษาประจำกลุ่ม
การเสนอโครงการวิทยานิพนธ์
รายงานการวิจัยในชั้นเรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้
การกำหนดปัญหา และความต้องการ (Problem Definition and Requirements)
ระบบคลังสินค้านม Milk Warehouse System ผู้จัดทำ
โดย ดร.วรินทร์ สุวรรณวิสูตร อาจารย์ผู้ประสานงานวิชาโครงการ
01 COE ฐานข้อมูลชุมชนสุขภาวะต้นแบบ 500 ตำบล
ASSOCIATION OF THAILAND โครงการยุวสมาชิกสมาคมการตลาดแห่งประเทศไทย
สถาบันวิจัยจุฬาภรณ์ Chulabhorn Research Institute.
สหกิจศึกษาทางรัฐศาสตร์
แม่แบบแผนการจัดการเรียนรู้
ภาพรวมแนวคิดของโครงงาน
ฝ่ายกิจการคณะวุฒยาจารย์ สำนักงานสภามหาวิทยาลัย
โครงการ เพิ่มประสิทธิภาพการใช้ชุดกระเป๋าปฐมพยาบาลสำหรับนิสิตที่ทำกิจกรรมนอกสถานที่ กลุ่ม Firstaid.
การจัดเก็บข้อมูลตามตัวบ่งชี้ สกอ. และ สมศ.
กลุ่มเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
ระบบข้อสอบออนไลน์.
ลดอัตราการออกกลางคัน ของนักศึกษาปริญญาตรี (Drop out)
ศึกษาโครงงานพิเศษ (Study Project) 1/2557
ทำไมผู้บริหารจึงไม่ให้ความสำคัญกับ โครงการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
ศรีสุทธา ปัตทวีคงคา 02 ฤดีพร พรหมพล 34 สมร การะเกษ 35
การสร้างเว็บไซต์ เรื่อง วิธีการใช้ Photo Shop
ผลงานนักเรียนวิชาคอมพิวเตอร์สร้างสรรค์
การวิเคราะห์ปัญหาวัยรุ่นและการช่วยเหลือ
เครื่องมือช่วยในการจับประเด็น รวบรวมความคิดให้เป็นหมวดหมู่
สมาชิก 1.น.ส.ศรวณีย์ อินทร์วงศ์ เลขที่ 11
ครูโรงเรียนราชโบริกานุเคราะห์
การส่งเสริมและป้องกัน ปัญหานักเรียน
แนวทางการปฏิบัติโครงการจูงมือ น้องน้อยบนดอยสูง 1.
โครงการพัฒนารูปแบบการลดทัศนคติการตีตรา/รังเกียจเด็กที่ได้รับผลกระทบจากพ่อแม่ที่ติดเชื้อและเจ็บป่วยด้วยโรคเอดส์ในโรงเรียนระดับประถมศึกษา-มัธยมศึกษาปี
วัตถุประสงค์ของโครงการวิจัย
การวิจัยในชั้นเรียนด้านอาชีวศึกษา
คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
Knowledge Management : KM
เคล็ดลับในการฝึกงาน ให้ประสบความสำเร็จ!!!
Eng ศึกษาความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการขันติ โสรัจจะ รุ่นที่ 1 ปีการศึกษา วัตถุประสงค์การวิจัย ระเบียบวิธีวิจัย ผลการวิจัย ผู้วิจัยต้องการศึกษา.
ความพึงพอใจของผู้เรียนต่อคุณภาพการสอนของครู
รองศาสตราจารย์ ดร.เอมอัชฌา วัฒนบุรานนท์
ขอต้อนรับทุก ท่าน WELCOME ! No 1. การบรรยายความรู้ มุมมองใหม่ กับการทำงานส่งเสริมเคหกิจ เกษตร วันพุธที่ ๒๐ กรกฎาคม ๒๕๕๔ ระหว่างเวลา ๑๕. ๐๐ – ๑๖. ๐๐ น.
สื่อสุขภาพจิต สำนักงานกองทุนสนับสนุนการ สร้างเสริมสุขภาพ(สสส.)
แนวทางดำเนินงานจัดการความรู้ในงานส่งเสริมการเกษตร ให้ประสบผลสำเร็จ
การทำผลงานวิชาการ สงวนลิขสิทธิ์.....โดย ดร.สุรชาติ สังข์รุ่ง.
การใช้ซอฟต์แวร์การเขียนโปรแกรมแบบชุดคำสั่งแบบภาพเพื่อกระตุ้นความสนใจและทัศนคติของนักเรียนต่อวิชาการเขียนโปรแกรม ปิยพจน์ ตัณฑะผลิน ผศ.ดร.ปราวีณยาสุวรรณณัฐโชติ
โดยท่านพระมหาวุฒิชัย วชิรเมธี (ว วชิรเมธี)
ชื่อเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาสอบไม่ผ่านเกณฑ์คะแนน 60% ในรายวิชาหลักการตลาด โดยใช้วิธีการสอน ( เพื่อนช่วยเพื่อน) ของนักศึกษาระดับชั้น ปวส.1/3.
การพัฒนากระบวนการอ่านในรายวิชาภาษาไทย ของนักศึกษาสาขา ช่างยนต์
ผู้วิจัย นางสาวจันทรา แซ่หลิม สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
ผู้วิจัย นายถนอมศักดิ์ บุญแฟง
การวิจัยการบริหาร ทรัพยากรมนุษย์ ดร. สุจิตรา ธนานันท์
ชื่อผู้วิจัย: นางสาวเมธิกา ชาพิมล
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
นางสาวพรวิภา จารุเดช วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
การพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้
ชื่อผู้วิจัย นายอภิเชษฐ เพ็ชรอินทร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
การปรับตัว ของนักเรียนระดับ ประกาศนียบัตร วิชาชีพ ชั้นปีที่ ๑ โดย นางสาวจิราพร นฤดม วิทยาลัยเทคโนโลยีเมืองชล บริหารธุรกิจ (MBAC)
ผู้วิจัย อาจารย์ณฐกมล พินิจศักดิ์
ผู้วิจัย : นางนิตยา งามยิ่งยง วิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม ( สยามเทค )
สัมมนาทางการประกอบการธุรกิจ
ผู้วิจัย อาจารย์เรณู เอกลักษณ์ไพศาล
ปฏิญญาสากลว่าด้วยเรื่อง สิทธิมนุษยชน
วิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม (สยามเทค) กรุงเทพมหานคร
วิทยาลัยเทคโนโลยีนีรชาบริหารธุรกิจ วิจัยการเรียนการสอน
การพัฒนาพฤติกรรมการกล้าเสดงออก โดยใช้วิธีการแสดงบทบาทสมมติ ในรายวิชาทักษะภาษาไทยเพื่ออาชีพ ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ปีที่ 1 แผนกการตลาด.
วิจัยในชั้นเรียน ผลการใช้กิจกรรมกลุ่มเพื่อแก้ไขพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ในรายวิชาช่างอุตสาหกรรม แผนก ช่างเทคนิคคอมพิวเตอร์ ประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่ 1 วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา.
การใช้สื่อการสอน “วงจรบัญชี”
ใบสำเนางานนำเสนอ:

“การสำรวจความคิดเห็นของนักศึกษา มจธ. ต่อการรับน้องในมหาวิทยาลัย” ตัวอย่าง (ส่วนแรก) “การสำรวจความคิดเห็นของนักศึกษา มจธ. ต่อการรับน้องในมหาวิทยาลัย”

อาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ผศ.ดร.ริเรืองรอง รัตนวิไลสกุล

สมาชิกในกลุ่ม KFC 1. นายภัทรภณ โภโค 44214507 1. นายภัทรภณ โภโค 44214507 2. นายกัมพล อนุตรโชติ 45214503 3. นางสาวจุฑารัตน์ เชิงสมอ 45214510 4. นายชยสร ศรีประเสริฐศักดิ์ 45214514 5. นางสาวเนตรนิภา ไพบูลย์พลาย้อย 45214527 6. นางสาวประกายกานต์ ประคุณสุขใจ 45214530 7. นายประพันธ์ ประพันธะโกมล 45214531 8. นายนายปิติพงศ์ พิมพ์พิเศษ 45214533 9. นางสาวปิยะพร พงษ์หิรัญเจริญ 45214535

สมาชิกในกลุ่ม KFC 10. นางสาวพนมพร กิตติประภารัชต์ 45214537 10. นางสาวพนมพร กิตติประภารัชต์ 45214537 11. นายพรเทพ เลี้ยงเจริญทรัพย์ 45214538 12. นางสาวพัชรินทร ทองคำ 45214540 13. นายภูวนิตย์ คำทับทิม 45214545 14. นางสาวลักขณา ทองไชย 45214549 15. นางสาววรัณศณางค์ บุณฑริก 45214551 16. นางสาววลัยภรณ์ โตนวล 45214552 17. นางสาวศิรินทร์ทิพย์ ชินภักดี 45214558 18. นายสรรเสริญ วิภาวิวัฒน์ 45214562

สมาชิกในกลุ่ม KFC 19. นางสาวสรัญยา วิมลศรีสุภาพ 45214563 19. นางสาวสรัญยา วิมลศรีสุภาพ 45214563 20. นางสาวสุจิตรา สุทธารักษ์ 45214566 21. นางสาวสุธิชา แสวงทอง 45214569 22. นางสาวสุพิมล เลี่ยวศิริชัย 45214570 23. นางสาวสุวลี บัวสุวรรณ์ 45214571 24. นางสาวสุวิมล ตั้งจิตพรหม 45214572 25. นางสาวเสริมพร ศรีสุวรรณ 45214573 26. นางสาวอุษา แก้วพิทักษ์คุณ 45214580

ที่มา/ความสำคัญของการศึกษา การรับน้องถือเป็นพฤติกรรมที่มีมาต่อเนื่องอย่างยาวนาน จนเหมือนกับเป็นเอกลักษณ์ที่แสดงออก ถึงการเริ่มต้นชีวิตในรั้วมหาวิทยาลัยของนักศึกษา โดยจุดเด่นของการรับน้องเป็นกิจกรรมที่เชื่อมความสัมพันธ์ไมตรีระหว่างเพื่อน รุ่นพี่ และรุ่นน้อง ทำให้ทุกคนมีโอกาสที่จะได้พูดคุยกัน ทำกิจกรรมร่วมกัน และรู้จักกันมากยิ่งขึ้น จากข่าวสารต่างๆ เกี่ยวกับการรับน้องที่ปรากฏออกมาทางสื่อต่างๆ จะเป็นไปในเชิงลบที่เกี่ยวกับวิธีการและรูปแบบการรับน้องที่ไม่เหมาะสม และเป็นประเด็นพูดถึงกันอย่างมากเกี่ยวกับความเหมาะสมว่า สมควรให้มีต่อไปหรือไม่ และทำแล้วได้ประโยชน์อะไร ซึ่งความคิดเห็นที่มีต่อเรื่องนี้ก็มีทั้งเห็นด้วยและไม่เห็นด้วยแตกต่างกันออกไป คณะผู้ศึกษา จึงเห็นว่า หากได้มีการสำรวจความคิดเห็นของนักศึกษาในมหาวิทยาลัยเทคโนโลยี พระจอมเกล้าธนบุรี ที่มีกิจกรรมรับน้องทุกปี และนักศึกษาที่ได้ร่วมกิจกรรมรับน้องในปีการศึกษาปัจจุบัน (2548) เกี่ยวกับกิจกรรมรับน้อง ใน 5 ด้าน คือ 1. ด้านรูปแบบกิจกรรม 2. ด้านความสัมพันธ์ระหว่างพี่ – น้อง 3. ด้านความสัมพันธ์ระหว่างเพื่อน – เพื่อน 4. ด้านทัศนคติต่อกิจกรรมรับน้อง 5. ด้านการเรียน เพื่อเป็นข้อมูลพื้นฐานในการจัดกิจกรรมรับน้องในปีต่อไป

วัตถุประสงค์ เพื่อการสำรวจความคิดเห็นของนักศึกษา มจธ. ต่อการรับน้องในมหาวิทยาลัย

ประชากรเป้าหมาย 1. กลุ่มเป้าหมาย คือ นักศึกษาระดับปริญญาตรี ชั้นปีที่ 1 และ 3 เนื่องจากนักศึกษาชั้นปีที่ 1 เป็นนักศึกษาที่ร่วมกิจกรรมรับน้องในปีนี้ และนักศึกษา ชั้นปีที่ 3 เป็นนักศึกษากลุ่มที่จัดกิจกรรมรับน้องโดยตรง 2. กลุ่มตัวอย่าง คือ นักศึกษา มจธ. โดยใช้วิธีการสุ่มอย่างง่าย โดยกำหนดจำนวน 220 คน ซึ่งเป็นนักศึกษาชั้นปีที่ 1 และชั้นปีที่ 3 ชั้นปีละ110 คน 3. สถานที่ศึกษา คือ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี 4. เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา คือ การสัมภาษณ์และการใช้แบบสอบถาม

ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1. เป็นข้อมูลเบื้องต้นในการจัดกิจกรรมรับน้องต่อไป 2. เพื่อให้รู้ถึงความรู้สึกของนักศึกษาที่มีต่อการรับน้อง 3. เพื่อให้พ่อ-แม่, ผู้ปกครอง และครอบครัวของนักศึกษาเกิด ความเข้าใจในกิจกรรมรับน้องมากขึ้น 4. สามารถนำข้อมูลไปประยุกต์ใช้แก้ไข และป้องกันปัญหาที่เกิดจากกิจกรรมรับน้องในปีต่อๆ ไป เช่น ปัญหาความเครียด, ปัญหา การฆ่าตัวตาย และการทำกิจกรรมโดยรู้เท่าไม่ถึงการณ์ ซึ่งทำให้ เกิดเหตุการณ์ที่ไม่คาดคิดได้

ตัวอย่าง VCD ให้คลิปดูใน wedsite http://arts.kmutt.ac.th/sscri/News2549/VCD_Student/index.html