สรุปประเด็นหารือ
ประเด็นที่ 1 คิดค่าใช้จ่ายต่อหัวนักศึกษา FTES เฉพาะงบดำเนินการรวมค่าเสื่อมสิ่งก่อสร้าง และครุภัณฑ์ ? งบดำเนินการรวมค่าเสื่อมราคา ไม่รวมค่าเสื่อมราคา เพราะ 89 5 เหตุผล..มหาวิทยาลัยใหม่มีค่าเสื่อมราคาสูง และครุภัณฑ์มีอายุการใช้งานไม่เท่ากัน ประกอบกับเกณฑ์การคิดค่าเสื่อมราคาของแต่ละมหาวิทยาลัยแตกต่างกัน
ประเด็นที่ 2 การจำแนกต้นทุนทางตรง และทางอ้อม คิดที่ระดับคณะ เห็นด้วย การจำแนกต้นทุนทางตรง และทางอ้อม คิดที่ระดับคณะ ต้นทุนทางตรง คือ ค่าใช้จ่ายทั้งหมดที่เกิดขึ้นที่คณะ ต้นทุนทางอ้อม คือ ค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นที่ส่วนงานกลางของมหาวิทยาลัย 79 เห็นด้วย ไม่เห็นด้วย เพราะ 15 เหตุผล.. ขอให้ปรับนิยามให้ชัดเจน กรณีที่ไม่เห็นด้วยเป็นเรื่องการแชร์ทรัพยากรบุคคล และเห็นว่าค่าใช้จ่ายทางอ้อมบางรายการเกิดที่คณะด้วย
ประเด็นที่ 3 รวมนักศึกษาและค่าใช้จ่ายโครงการพิเศษ หรือไม่ (เฉพาะสถาบันอุดมศึกษารัฐ) 59 รวมโครงการพิเศษ ไม่รวม เพราะ 10 เหตุผล........โครงการพิเศษไม่ได้รับงบประมาณแผ่นดิน เป็นเงินเลี้ยงตัวเอง แยกจากระบบบัญชีกลาง ขึ้นอยู่กับความต้องการของตลาดมีความผันแปร
ประเด็นที่ 4 กลุ่มสาขาวิชา ควรเป็น 6 กลุ่มสาขาวิชา โดยมีการแบ่งเป็น16 กลุ่มย่อย หรืออื่นๆ 87 เห็นด้วย ไม่เห็นด้วย เพราะ 3 เหตุผล..... ควรกำหนดลงในคู่มือให้ชัดเจนเพื่อให้แต่ละมหาวิทยาลัยรู้ว่าแต่ละสาขาของตนอยู่ในกลุ่มไหน ทางที่ดีสาขาวิชาควรกำหนดตาม กพร. , สกอ. , สงป. และกรมบัญชีกลาง เพื่อจะได้ใช้ได้ตลอด เพิ่มอีก 1 กลุ่มเป็นกลุ่มที่ 7 กลุ่มอื่น ๆ กรณีแตกต่างออกไป
ประเด็นที่ 5 5.1 ค่าตัวปรับน้ำหนักระดับบัณฑิตศึกษาเป็นปริญญาตรี ควรเป็นเท่าใด ค่าตัวปรับน้ำหนัก ควรเป็น....1.5... 75
ประเด็นที่ 5 (ต่อ) 5.2 ค่าตัวปรับน้ำหนักควรเป็นค่าเดียวกันทุกกลุ่มสาขาหรือไม่ 70 ค่าตัวปรับควรเป็นค่าเดียวกัน ทุกกลุ่มสาขาวิชา ค่าตัวปรับน้ำหนักไม่ควรเป็นค่าเดียวกัน เพราะ 12 เหตุผล.....แต่ละสาขามีความแตกต่างกัน มีข้อได้เปรียบเสียเปรียบกันอยู่มาก เช่น แต่ละมหาวิทยาลัยมีการจัดการบัณฑิตศึกษาแตกต่างกัน ควรใช้เกณฑ์ของ สมศ. เพื่อไม่ให้ต้องทำซ้ำซ้อนและจะได้นำมาใช้ประโยชน์ร่วมกัน
ประเด็นที่ 6 เกณฑ์การปันส่วนต้นทุนทางอ้อม ใช้วิธีตามที่คณะวิจัยเสนอ 71 เห็นด้วย ข้อเสนอวิธีอื่น 6 เหตุผล ........ขึ้นอยู่กับความประสงค์ของแต่ละหน่วยงาน ต้องดูที่กิจกรรม และควรมีมาตรฐานเดียวกันเพื่อให้เปรียบเทียบได้