33711 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 14

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
กลุ่มสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี โรงเรียนมัธยมวานรนิวาส
Advertisements

ระบบข้อมูลสารสนเทศเพื่อการศึกษา
ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
สำนักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
การพัฒนาระบบฐานข้อมูล
ชี้แจงการสัมมนากลุ่มย่อย
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
Information System and Technology
ผลการประเมินคุณภาพด้วยวาจา
ประเภทของระบบสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร.
รายวิชา ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ
การจัดการระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
คำถาม กระทรวงใหม่ที่ดูแลทางด้าน IT ชื่อกระทรวงอะไร?
งานธุรการ.
33711 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 5
33701 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 3
33711 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 6
33701 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 1
33711 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 10
33711 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 13
โครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การจัดทำแผนการพัฒนาและการปฏิบัติการ ของโครงการโดยเจ้าหน้าที่โครงการมีส่วนร่วม ปี พ.ศ.2552.
ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษากับการเรียนรู้ตลอดชีวิต
ICT สู่ห้องเรียนคุณภาพ
บรรยายพิเศษ การดำเนินงาน กศน.ตำบล
นโยบายด้านการบริการวิชาการ
แผนที่ยุทธศาสตร์สำนักพัฒนาโครงสร้างและระบบบริหารงานบุคคล
การจัดการสารสนเทศและ ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ MIS Management Information System
ภารกิจและนโยบาย 6 ยุทธศาสตร์ 35 กลยุทธ์ ของ ส.อ.ศ. บัญญัติ สมสุพรรณ
แผนปฏิบัติราชการการศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
กำหนดเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553
การจัดการนวัตกรรมและสารสนเทศ Innovation and Information Management
เทคโนโลยีการศึกษายุคอีนำไอ้
การจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ และนวัตกรรมการศึกษา ดร
e-Office การบริหารสำนักงานสมัยใหม่
การบริหารสำนักงานยุคใหม่
Information Technology
สรุปประเด็นการประชุมสัมมนากลุ่มย่อย
การตรวจรับรองเกณฑ์คุณภาพการบริหาร จัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (Certify FL) 1.
Blueprint for Change ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลง (Blueprint for Change) คืออะไร ? เทคนิคการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารราชการให้เกิดความพร้อมในการสนับสนุนและผลักดันให้ยุทธศาสตร์ของส่วนราชการเกิดผลทางปฏิบัติ
แผนปฏิบัติราชการ พ.ศ ของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ความก้าวหน้าเทคโนโลยีของไทย
ทำไมต้องปรับระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ?
๒๕ ธ.ค. ๒๕๕๑ ณ โรงแรมมิราเคิล แกรนด์ คอนเวนชั่น กรุงเทพฯ
โครงการบริหารความเสี่ยงทั่วทั้งองค์กร (Enterprise Risk Management : ERM) สำนักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ
งานการเงิน เป็นงานที่ให้การสนับสนุนการ ปฏิบัติงานของกลุ่มงานต่าง ๆ อยู่ ในฝ่ายบริหารงานทั่วไป ศูนย์ อนามัยที่ 10 เชียงใหม่ บทบาทหน้าที่ของงานการเงิน 1.
ฐานข้อมูล Data Base.
IM I-4 การวัด วิเคราะห์ performance ขององค์กร และการจัดการความรู้
ระบบสารสนเทศ เพื่อการบริหาร
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
ระบบสารสนเทศ เพื่อการสื่อสาร
บทที่ 1 ระบบสารสนเทศ และบทบาทของนักวิเคราะห์ระบบ
โดย นายคันฉัตร ตันเสถียร รองผู้ว่าราชการจังหวัดอุบลราชธานี
วิสัยทั ศน์ เป็นองค์กรที่เป็นเลิศด้าน การแก้ไขปัญหาสุขภาพจิตจาก แอลกอฮอล์ของประเทศและ พัฒนาระบบบริการสุขภาพจิต และจิตเวชในเครือข่ายบริการ สุขภาพจิตที่
บทที่ 3 ปรัชญาและแนวความคิดของการพัฒนาชุมชน
หน่วย ๑ ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ
องค์ประกอบ เทคโนโลยี สารสนเทศ. เทคโนโลยี คอมพิวเตอร์ เทคโนโลยีสื่อสาร โทรคมนาคม ฮาร์ดแ วร์ ซอฟต์ แวร์ บุคลาก ร ข้อมูล ขั้นตอน การ ปฏิบัติงาน.
บทที่ 7 ระบบสารสนเทศ(Information Systems)
แผนการดำเนินงาน 2558 กองบริการเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
Evaluation of Thailand Master Plan
บทที่ 11 ระบบสารสนเทศ.
Prime Minister’s Operation Centre
นางสาววราภรณ์ จันปัญญา สาธารณสุขชุมชน 1 รหัส
แหล่งเรียนรู้และเครือข่ายการเรียนรู้
รางวัลบริการภาครัฐแห่งชาติ (Thailand Public Service Awards)
โครงการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศที่ดำเนินการในปีงบประมาณ 2553
แผนที่ยุทธศาสตร์กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ
ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

33711 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 14 รัฐประศาสนศาสตร์กับ กับระบบเทคโนโลยีสารสนเทศภาครัฐ รศ.ดร.เทพศักดิ์ บุณยรัตพันธุ์ รองอธิการบดีฝ่ายวางแผนและพัฒนาระบบงาน มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช 1 1

ความเกี่ยวข้องระหว่าง ICT (INFORMATION AND COMMUNICATION TECHNOLOGY) กับรัฐประศาสนศาสตร์ การปฏิรูประบบราชการปัจจุบันมุ่งไปสู่ การเน้นระบบราชการทันสมัย ICT จึงเข้า มาเกี่ยวข้องกับรัฐประศาสนศาสตร์เพื่อ สนับสนุนให้การบริหารภาครัฐมุ่งไปสู่การ เป็น e-Government

นโยบายในการผลักดัน e-Government เพื่อพัฒนาสังคมไทยสู่ e-Thailand e-Education e-Commerce e-Industry e-Society วันนี้เป็นวันสำคัญอีกวันหนึ่งของการก้าวไปข้างหน้าสู่การเปลี่ยนแปลงของรัฐบาลอิล็กทรอนิกส์ในอีก 3 ปีข้างหน้า นับจากวันนั้นจนถึงวันนี้ สิ่งที่กระทรวง ICT และทุกส่วนราชการได้ร่วมกันดำเนินงานผลักดันให้นโยบายของรัฐบาลในการพัฒนาe-Government เกิดเป็นรูปธรรมและมีความก้าวหน้า มาโดยลำดับ ตลอดระยะเวลา 1ปีกว่า โดยเฉพาะอย่างยิ่งการดำเนินงานตามมติการประชุมรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์เมื่อวันที่ 26 มีนาคม 2546 ที่มีเป้าหมาย 15 ประการ(milestones) เป็นการวางพื้นฐานทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงและการพัฒนาครั้งสำคัญของรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งมีความก้าวหน้าอย่างต่อเนื่อง เช่น การพัฒนา Website ของทุกส่วนราชการ ,โครงการ GFMIS , PMOC/MOC, e-Procurement, การเปิดเว็บไซต์ ecitizen.go.th, GCC , smart card ฯลฯ ที่มาร่วมกันประชุมกันในวันนี้เพื่อจะสานต่อจากที่วางรากฐานสำคัญดังที่กล่าวมาแล้ว ให้ จิกซอ แต่ละส่วนของการทำงานประสานให้เป็นหนึ่งเกิดความชัดเจนของระบบโครงสร้างพื้นฐานที่จะการดำเนินงานบูรณาการร่วมกันในการให้บริการสู่ประชาชน โดยกระทรวงได้วางกรอบดำเนินการจัดทำมาตรฐานต่างๆ และบูรณาการระบบเครือข่ายกลาง ทำให้เกิดการบริการแก่ประชาชนอย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประโยชน์สูงสุด

วิสัยทัศน์ ICT ที่เกี่ยวข้องกับ รัฐประศาสนศาสตร์ เป้าหมายสำคัญของ e-Government ก้าวใหม่ของรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ในการก้าวสู่ความเป็นสากล รวมศูนย์การให้บริการเป็นหนึ่งเดียวแบบ “One e-Government” โดยยึดประชาชนเป็นศูนย์กลาง เพิ่มประสิทธิภาพในการแข่งขันแบบสากลมากขึ้น แสดงความพร้อมของประเทศ http://210.1.19.168/multimedia/tun/71.E_goverment/E-government.html

E-Government Roadmap 1. การบริการครอบคลุมถึงวิถีการดำเนินชีวิตประชาชน 2. การร่วมมือเป็นหนึ่งเดียว การสานพลังร่วมกันระหว่างหน่วยงานเพื่อ การบูรณาการการเชื่อมโยงสารสนเทศและการให้บริการของภาครัฐ “เป้าหมายประชาชนเป็นศูนย์กลาง” ในรูปแบบการให้บริการผ่าน web portal เพื่ออำนวยความสะดวกแก่ประชาชนในลักษณะ one stop service ได้ทั่วถึงและเท่าเทียมกัน http://www.ecitizen.go.th

E-Government Roadmap 3. ระบบเครือข่ายการให้บริการที่มีประสิทธิภาพ โดยเน้นการปรับปรุง/ ขยายเครือข่าย Internet ความเร็วสูงอย่างทั่วถึง ทำให้เกิดการบริการ ในลักษณะ Interactive 4. ระดับการพัฒนาของ e-Government ไปสู่ Intelligence ที่เว็บไซต์ สามารถรับรู้ถึงพฤติกรรมความต้องการประชาชนที่มาใช้บริการและ สามารถเลือกข้อมูลตามความต้องการของตน 5. ประชาชนทุกระดับได้รับบริการอย่างทั่วถึง สร้างและ ขยายโอกาสทางเลือกของการให้บริการแก่ประชาชน ให้สามารถเข้าถึงบริการของรัฐได้ไม่จะเป็นชนบท เมือง หรือคนในต่างประเทศ ให้สามารถใช้อุปกรณ์ไม่ว่าจะเป็น computer , mobile phone , PDA หรือแม้กระทั่งผ่าน ทาง Call Center เพื่อขอรับบริการข้อมูลและทำธุรกรรม กับภาครัฐได้อย่างมีประสิทธิภาพ 6. การพัฒนาความพร้อมของสังคม บุคลากรภาครัฐและประชาชนได้รับ การพัฒนาให้มีความพร้อมในการปรับเปลี่ยนในการใช้เทคโนโลยีในการ สื่อสารระหว่างกันและให้บริการประชาชน

ความหมายและองค์ประกอบของ เทคโนโลยีสารสนเทศ เทคโนโลยีสารสนเทศ หมายถึง เทคโนโลยี ที่เกี่ยวข้องกับเครื่องมือเครื่องจักรทั้งหลายที่ นำไปใช้ในการจัดการสารสนเทศ องค์ประกอบ 1. ข้อมูล 2. สารสนเทศ 3. เทคโนโลยี 4. ระบบสารสนเทศ

คุณลักษณะของ ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ - ความถูกต้อง (Accuracy) - ทันต่อความต้องการใช้ (Timeliness) - ความสมบูรณ์ (Completeness) - สอดคล้องกับความต้องการของผู้ใช้ (Relevance) - สอบทานได้ (Verifiability)

ระดับการจัดการระบบเทคโนโลยีสารสนเทศภาครัฐ การจัดการระดับสูง - มาจากภายนอก -Executive Summary การจัดการระดับกลาง -รายละเอียดปานกลาง -บางเวลา การจัดการระดับต้น - รายละเอียดมาก - บ่อยครั้ง

ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศภาครัฐ ระบบสารสนเทศสนับสนุนงานประจำวัน (TPS-Transaction Processing System) - ช่วยให้งานรวดเร็ว แม่นยำ ถูกต้อง - ลดค่าใช้จ่ายในการจ้างบุคลากร ระบบสารสนเทศสนับสนุนงานสำนักงาน (OAS-Office Automation System) - อำนวยความสะดวกในการปฏิบัติงาน ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ (MIS – Management Information System) - วางแผนทั้งระยะสั้นและกลาง ระบบสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจ (DSS – Decision Supporting System) - สนับสนุนการตัดสินใจเกี่ยวกับการจัดการ ระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหารระดับสูง (EIS – Executive Information System) - ตัดสินใจและวางแผนกลยุทธ์