งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

33701 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 3

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "33701 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 3"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 33701 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 3
แนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ สหรัฐอเมริกา 1 รศ.ดร.เทพศักดิ์ บุณยรัตพันธุ์ รองอธิการบดีฝ่ายวางแผนและพัฒนาระบบงาน มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช 1 1

2 นักวิชาการที่สนับสนุน แนวคิดการการเมืองแยกจากการบริหาร
1. Woodrow Wilson - ประเทศเจริญก้าวหน้า จะมีระบบราชการที่มี ประสิทธิภาพและมีเหตุผล - สามารถสร้างหลักการบริหารที่ดี ที่นำไปใช้กับทุก รัฐบาลได้ (one rule of good administration for all government alike) - การบริหารแยกจากการเมืองเด็ดขาด 2. Frank Goodnow - หน้าที่ทางการเมืองแยกจากหน้าที่ทางการบริหารได้ 3. Leonard D. White - การเมืองไม่ควรเข้ามาแทรกแซงการบริหาร

3 นักวิชาการที่สนับสนุนแนวคิด การจัดการทางวิทยาศาสตร์
Frederick Taylor เสนอ “หลักการจัดการทางวิทยาศาสตร์ (Scientific Management)” ประกอบไปด้วย - ค้นหาหลักการทำงานที่เป็นวิทยาศาสตร์ ที่ได้ จากการทดลองหาวิธีที่ดีที่สุด (one best way) - การคัดเลือกคนทำงานตามกฎเกณฑ์ วิทยาศาสตร์ - การพัฒนาคนทำงานตามหลักวิทยาศาสตร์ - ให้ความสำคัญต่อการสร้างความร่วมมือในการ ทำงาน (friendly cooperation) ระหว่าง นายจ้างกับลูกจ้าง

4 นักวิชาการที่สนับสนุน แนวคิดหลักการบริหาร
1. Mary Parker Follet - การมองความขัดแย้งในแง่ดี - การออกคำสั่งอย่างมีศิลปะ - เรื่องขององค์กรเป็นความ รับผิดชอบของทุกฝ่าย - หลักการประสานงาน 2. Mooney & Reiley - หลักการประสานงาน - หลักลำดับขั้นการบังคับบัญชา - หลักการแบ่งงานตามหน้าที่ - หลักความสัมพันธ์ระหว่าง Line & Staff 3. Gulick & Urwick - การประสานงานโดยกลไก การควบคุมภายใน - การจัดโครงสร้างภายใน องค์การ - หน้าที่ของฝ่ายบริหาร : POSDCORB - การประสานงานของ หน่วยงานย่อย - การประสานงานโดยการผูกมัด ทางใจ

5 นักวิชาการที่สนับสนุน แนวคิดการบริหารคือการเมือง
1. Avery Leiserson – การบริหารงานของภาครัฐอยู่ท่ามกลางสภาพแวดล้อมของกลุ่มผลประโยชน์ต่างๆ 2. Paul Henson Appleby 1) การบริหารงานของรัฐ แท้จริงเป็นเรื่องของการเมือง 2) นักบริหารภาครัฐจะต้องเกี่ยวข้องกับการเมือง 3) ให้กลุ่มต่างๆ เข้ามาแข่งขันในการกำหนดนโยบาย สาธารณะ (Administrative Pluralism) 4) นักบริหารภาครัฐจะต้องมีจรรยาบรรณ (Administrative Platonism) 3. Norton E. Long - การบริหาร คือ การเมือง

6 นักวิชาการที่สนับสนุน แนวคิดระบบราชการแบบไม่เป็นทางการ
1. Robert Mitchels - Goal Displacement - Iron Law of Oligarchy 2. Robert Merton - การยึดกฎระเบียบราชการ 3. Alvin A. Gouldner - บทบาทขององค์การไม่เป็นทางการ 4. Phillip Selznick - Grass-Root Democracy - Cooptation

7 นักวิชาการที่สนับสนุน แนวคิดศาสตร์การบริหาร
1. Chester I. Barnard : The Functions of the Executives - องค์การเกิดจากความจำเป็นที่คนมารวมกลุ่มกัน - จะต้องมีการจัดระบบความร่วมมือการทำงานในองค์การ - การดำรงอยู่ขององค์การ ขึ้นกับความสำเร็จ - ความอยู่รอดขององค์กร ขึ้นกับความสามารถของฝ่ายบริหาร - ฝ่ายบริหารจะต้องตัองตัดสินใจด้วยความรับผิดชอบภายใน กรอบศีลธรรม 2. Herbert A. Simon - เห็นว่าแนวคิดหลักการบริหาร มีความขัดแย้งกัน - หัวใจสำคัญที่สุดของการบริหาร คือ การตัดสินใจ - นักบริหารบางครั้งไม่สามารถตัดสินใจอยู่บนความมีเหตุผล สูงสุด (maximize) ได้ แต่จะต้องตัดสินใจอยู่บนข้อจำกัด ทำให้การตัดสินใจจะต้องอยู่บนเกณฑ์ความพอใจ (satisficing)


ดาวน์โหลด ppt 33701 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 3

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google