33711 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 11

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สุปิยา ลิมป์กฤตนุวัตร์ กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
Advertisements

ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
ศาสตราจารย์ ดร.สมบัติ ธำรงธัญวงศ์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
มูลนิธิสถาบันที่ดิน 9 กรกฎาคม 2550
หลักการสำคัญ ในการปรับปรุงกฎหมาย ว่าด้วยระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
รหัสวิชา กระบวนทัศน์ การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และชุมชนในองค์กร
ข้อควรพิจารณาในการปรับแผนยุทธศาสตร์ คณะวิทยาการสารสนเทศ พ. ศ
ขอบข่ายของการศึกษา รัฐประศาสนศาสตร์
รัฐประศาสนศาสตร์ รัฐประศาสนศาสตร์เป็นเรื่องเกี่ยวกับ “กิจการสาธารณะ (Public Affairs)” และพื้นฐานของรัฐประศาสนศาสตร์ก็คืองานบริหารงานภาครัฐใดๆ ที่ต้องคำนึงถึง.
เรื่องสืบเนื่อง การวางแผนและบริหารโครงการสำหรับส่วน ราชการ
การวางแผนกลยุทธ์.
บทที่ 2 องค์การและการจัดการ.
BA 925 การบริหารกลยุทธ์ ภาคฤดูร้อน ปีการศึกษา 2551
33711 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 5
จัดตั้งงานประสานศูนย์วิทยพัฒนา 25 สิงหาคม 2550
33701 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 3
33711 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 7
33711 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 6
33711 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 4
33701 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 1
ประสิทธิภาพ การปฏิบัติราชการ
33711 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 15
33711 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 10
33711 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 14
33711 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 13
การบริหารผลสัมฤทธิ์ (Result Based Management-RBM)
โครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การจัดทำแผนการพัฒนาและการปฏิบัติการ ของโครงการโดยเจ้าหน้าที่โครงการมีส่วนร่วม ปี พ.ศ.2552.
แบบฟอร์มยืนยัน แผนผังเชิงกลยุทธ์ (Strategy Map)
การจัดการความรู้ (Knowledge Management)
พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการ
โดย รองศาสตราจารย์ ดร.ไทย ทิพย์สุวรรณกุล
แผนที่ยุทธศาสตร์สำนักพัฒนาโครงสร้างและระบบบริหารงานบุคคล
หลักการบริหารภาครัฐยุคใหม่
การบริหารโดยมุ่งผลสัมฤทธิ์ Results Based Management (RBM)
การปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ วัฒนธรรม ค่านิยมในการทำงานราชการยุคใหม่
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
ภารกิจและนโยบาย 6 ยุทธศาสตร์ 35 กลยุทธ์ ของ ส.อ.ศ. บัญญัติ สมสุพรรณ
สรุปผลการเข้ารับการฝึกอบรม หลักสูตร “LEADERSHIP DEVELOPMENT PROGRAM” ของ นางนงลักษณ์ บุญก่อ ตำแหน่งนักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการ สำนักตรวจราชการและติดตามประเมินผล.
การกำหนดความรู้ความสามารถ ทักษะ และสมรรถนะที่จำเป็นสำหรับตำแหน่ง
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
ผลการดำเนินงานองค์กร (Performance Measurement)
การมีส่วนร่วมของประชาชน ในการบริหารราชการ
1 เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ กลุ่มที่ 5. 2 สมาชิกกลุ่ม 18.
การจัดโครงสร้างหน่วยงานภาครัฐ
การตรวจรับรองเกณฑ์คุณภาพการบริหาร จัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (Certify FL) 1.
องค์กรนำการปศุสัตว์ไทย
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
คน Man ผู้บริหาร บุคลากรของทุกระดับ.
Blueprint for Change ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลง (Blueprint for Change) คืออะไร ? เทคนิคการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารราชการให้เกิดความพร้อมในการสนับสนุนและผลักดันให้ยุทธศาสตร์ของส่วนราชการเกิดผลทางปฏิบัติ
ทำไมต้องปรับระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ?
๒๕ ธ.ค. ๒๕๕๑ ณ โรงแรมมิราเคิล แกรนด์ คอนเวนชั่น กรุงเทพฯ
การบริหารเชิงยุทธศาสตร์
“การถ่ายทอดตัวชี้วัด จากระดับองค์กรลงสู่ระดับบุคคล”
PMQA พัชรศรี ศรีเมือง กลุ่มพัฒนาระบบบริหารกระทรวงยุติธรรม 14 ก.ย. 53
หลักการ และเทคนิควิธีการกำหนด แผนปฏิบัติราชการสำนักงานยุติธรรมจังหวัด
ประโยชน์ต่อส่วนราชการ
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
การบริหารและกระบวนการวางแผน
การบริหารงานบุคลากร ภาครัฐแนวใหม่
การจัดการความรู้ ศูนย์นิติวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
โดย นายคันฉัตร ตันเสถียร รองผู้ว่าราชการจังหวัดอุบลราชธานี
การวางแผนยุทธศาสตร์.
ธรรมาภิบาลกับการจัดการภาครัฐแนวใหม่
กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร กรมอนามัย
ทิศทางการพัฒนาระบบราชการไทย
ปฏิบัติงานบริการคอมพิวเตอร์
บทที่ 7 การควบคุมเชิงกลยุทธ์
หน้าที่ 1 วิสัยทัศน์ สถาบันอุดมศึกษาด้าน สุขภาพชั้นนำของอาเซียน ที่เน้นชุมชน แผนกลยุทธ์สถาบันพระบรมราชชนก ประจำปี 2553.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

33711 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 11 รัฐประศาสนศาสตร์กับการปฏิรูประบบราชการ รศ.ดร.เทพศักดิ์ บุณยรัตพันธุ์ รองอธิการบดีฝ่ายวางแผนและพัฒนาระบบงาน มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช 1 1

แนวคิดเกี่ยวกับการปฏิรูป Cyert and March เห็นว่าการปฏิรูปเป็นผลที่เกิดขึ้น จากความตั้งใจในเป้าหมายที่ชัดเจนในการที่จะเลือก ทางเลือกต่าง ๆ จากทางเลือกหลาย ๆ ทางที่มีอยู่ โดยที่โครงสร้าง กระบวนการ และอุดมการณ์ (ideology) ขององค์การจะถูกออกแบบสร้างขึ้นมา เพื่อช่วยให้องค์การสามารถดำเนินงานได้มากขึ้นและ มีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น

การปฏิรูประบบราชการ กับ การปฏิรูปการจัดการภาครัฐ การปฏิรูประบบราชการ เป็นการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงหรือออกแบบใหม่ อย่างมีเป้าหมาย โดยให้ความสำคัญต่อโครงสร้าง กลไก และกระบวนการ ทำงานในระบบราชการ เพื่อแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในการทำงานของ ระบบราชการ และเพื่อให้เกิดความคล่องตัวในการตอบสนองต่อ สภาพแวดล้อมที่เกิดขึ้นทั้งภายในและภายนอก เช่น การปรับปรุงโครงสร้างของกระทรวงและส่วนราชการต่าง ๆ การ ลดขั้นตอนการทำงาน การกระจายอำนาจ เป็นต้น การปฏิรูปการจัดการภาครัฐ เป็นการมุ่งแสวงหาทางเลือกที่เป็นแนวคิด การบริหารการจัดการใหม่ ๆ เพื่อนำมาปรับปรุงเปลี่ยนแปลงหรือออกแบบ วิธีการบริหารการจัดการใหม่ ๆ โดยมีเป้าหมายเพื่อมุ่งไปสู่การเพิ่มผลผลิต ของการบริหารงานของรัฐให้สูงขึ้นและสามารถตอบสนองต่อ สภาพแวดล้อมทั้งภายในและภายนอกให้ดีขึ้น เช่น การมุ่งเน้นการนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้เพิ่มมากขึ้น การ มุ่งเน้นให้เป็นรัฐบาลที่มุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์ของงาน การสร้างเครือข่ายความ ร่วมมือกับองค์กรภายนอก ชุมชน และประชาชน การนำกลไกตลาดมาใช้ ในการบริหารจัดการ เป็นต้น

การปฏิรูประบบราชการ กับ การปฏิรูปการจัดการภาครัฐ

แนวคิดเกี่ยวกับการปฏิรูป ให้ความสำคัญต่อการปฏิรูปทั้งในเรื่อง โครงสร้าง กระบวนการ กลไก การจัดการ เน้นการนำนำแนวคิดใหม่ ๆ มาประยุกต์ใช้ เน้นบูรณาการ เป็นสหวิทยาการ มุ่งการเพิ่มผลผลิต นำไปใช้ในขอบเขตที่กว้างและครอบคลุม ทั้งระบบ การปฏิรูปมีลักษณะเป็นพลวัต (dynamic)

ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความสำเร็จของ การปฏิรูประบบราชการและ การปฏิรูปการจัดการภาครัฐ ปัจจัยด้านความคิดของการปฏิรูป ปัจจัยด้านการเมือง ปัจจัยด้านการนำแนวคิดไปปฏิบัติ ปัจจัยด้านการสนับสนุน/ต่อต้าน ปัจจัยด้านองค์การที่รับผิดชอบการปฏิรูป ปัจจัยด้านการติดตามและประเมินผลการปฏิรูป

Reinventing Government David Osborne & Ted Gaebler(1992) 1. ต้องการให้ระบบราชการทำหน้าที่เป็นพี่เลี้ยงมากกว่าให้ระบบราชการ ลงมือทำงานเอง (a catalytic government) 2. ต้องการให้ระบบราชการเป็นระบบที่ชุมชนเป็นเจ้าของ มอบอำนาจ ให้กับประชาชนไปดำเนินการเอง (a community-owned government) 3. ต้องการให้ระบบราชการมีลักษณะของการแข่งขันการให้บริการ สาธารณะ (a competitive government) 4. ต้องการให้ระบบราชการเป็นระบบที่ขับเคลื่อนด้วยภารกิจมากกว่า ขับเคลื่อนด้วยกฎระเบียบ (a mission – driven government) 5. ต้องการให้ระบบราชการเป็นระบบที่ให้ความสำคัญต่อผลของการ ปฏิบัติงาน(a results-oriented government) มากกว่าสนใจถึง ปัจจัยนำเข้าและขั้นตอนการทำงาน

Reinventing Government David Osborne & Ted Gaebler(1992) 6. ต้องการให้ระบบราชการเป็นระบบที่มุ่งสนองตอบต่อการเรียกร้องของ ลูกค้า (a customer-driven government) 7. ต้องการให้ระบบราชการดำเนินงานในลักษณะที่เป็นแบบรัฐวิสาหกิจ มุ่งการแสวงหารายได้มากกว่าการใช้จ่าย (an enterprising government) 8. ต้องการให้ระบบราชการเป็นระบบที่มีการเฝ้าระวังล่วงหน้า (an anticipatory government) 9. ต้องการให้ระบบราชการเป็นระบบที่มีการกระจายอำนาจ โดยเน้นให้ ข้าราชการระดับปฏิบัติงานมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ (a decentralized government) 10. ต้องการให้ระบบราชการเป็นระบบที่ปรับเปลี่ยนไปตามกลไกของ ตลาด (a market-oriented government)

แนวทางของการปฏิรูประบบราชการและ การปฏิรูปการจัดการภาครัฐ แนวทางการปฏิรูปที่เน้นโครงสร้างและ การกระจายอำนาจ แนวทางการปฏิรูปที่เน้นการลดบทบาท รัฐ แนวทางการปฏิรูปที่เน้นระบบราชการ ทันสมัยหรือการฟื้นฟูระบบราชการ แนวทางการปฏิรูปที่เน้นให้ ความสำคัญต่อการทำงานของราชการ

แนวทางการปฏิรูปที่ให้ความสำคัญต่อ โครงสร้างและการกระจายอำนาจ 1. การปรับภารกิจและโครงสร้าง - วิสัยทัศน์ พันธกิจ กลยุทธ์ โครงสร้าง 2. การกระจายอำนาจ - รัฐธรรมนูญ - พระราชบัญญัติกำหนดแผนและขั้นตอนการกระจาย อำนาจแก่องค์การปกครองท้องถิ่น 2542 3. การจัดองค์การแบบเครือข่าย - Community-owned Government - Citizen co-production 4. การจัดองค์การตามกลไกตลาด

แนวทางการปฏิรูปที่ให้ความสำคัญ ต่อการลดบทบาทรัฐ (State Disengagement) 1. การลดกฎระเบียบ (Deregulation) - Robert Merton - Michael Crozier : Bureaucratic Pathology ที่ระบบ ราชการชอบสร้างกฎระเบียบใหม่ขึ้นมาเพื่อแก้ไข กฎระเบียบเดิมที่ไม่ถูกปฏิบัติตาม 2. การลดจำนวนข้าราชการ (Civil Service Cutbacks) มุ่งไปสู่ Small Government - Early Retirement - Zero Growth - Contract-out - Broad Banding 3. Privatization

แนวทางการปฏิรูปที่เน้น ระบบราชการทันสมัยหรือการฟื้นฟูระบบราชการ (MODERNIZATION / PUBLIC SERVICE RENEWAL) 1. นำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้มากขึ้น - e-Government Paradigm (Alfred Tat-Kei Ho) 2. ให้ความสำคัญต่อการเพิ่มผลผลิตและผลสำเร็จของงาน - Result Based Management - Performance Agreement - Benchmarking 3. การปรับปรุงการให้บริการสาธารณะ - PSO (Thailand International Public Sector Standard Management System and Outcomes) 4. การจัดการกลยุทธ์ (Strategic Management) - SWOT - Balanced Scorecard

แนวทางการปฏิรูปที่ให้ความสำคัญ ต่อการทำงานของราชการ 1. การปรับปรุงระบบบริหารงานบุคคลของภาครัฐ - ลดคน - Open Recruitment - Competency 2. การประเมินผลการปฏิบัติงานของข้าราชการ - KPI 3. การเพิ่มอำนาจแก่ข้าราชการ - Empowerment 4. การกำหนดมาตรฐานจริยธรรม - Public Accountability ในรูปของ Code of Conduct

กรณีศึกษาการปฎิรูปในต่างประเทศ ฝรั่งเศส - กระจายอำนาจ - ลดบทบาทภาครัฐ - การจัดการตามสัญญา - การบริการสาธารณะ สหรัฐอเมริกา - NPR (National Performance Review ได้รับอิทธิพล จาก Reinventing Government : - Balanced Scorecard Measure - Blair House Paper - Deliver Great Services - Foster Partnership and Community Solutions - Reinvent to get the Job Done with Cost Less

กรณีศึกษาการปฎิรูปในประเทศไทย 1. ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการปฏิรูประบบ ราชการ 2541 2. ให้ความสำคัญต่อการปรับลดกำลังคนภาครัฐ 3. นำหลักการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีมาใช้ 4. นำแนวคิดการบริหารราชการแบบบูรณาการมาใช้ 5. นำแนวคิดการจัดการเชิงกลยุทธ์มาใช้ 6. นำแนวคิด Result Based Management มาใช้ 7. นำแนวคิดเรื่อง Competency มาใช้ 8. นำแนวคิดเรื่อง Knowledge Management มาใช้ 9. นำแนวคิดการพัฒนาคุณภาพการบริหารการจัดการ ภาครัฐมาใช้ (PMQA)