33701 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 1 ภาพรวมและแนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับรัฐประศาสนศาสตร์ รศ.ดร.เทพศักดิ์ บุณยรัตพันธุ์ รองอธิการบดีฝ่ายวางแผนและพัฒนาระบบงาน มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช 1 1
สาธารณกิจ การบริหารรัฐกิจ และรัฐประศาสนศาสตร์ สาธารณกิจ การบริหารรัฐกิจ และรัฐประศาสนศาสตร์ สาธารณกิจ (Public Affairs) เป็นกิจกรรมที่เกิดขึ้นพร้อมกับชุมชน ถูกกำหนดขึ้นและนำไปปฏิบัติเพื่อประโยชน์ส่วนรวม การบริหารรัฐกิจ (public administration) เป็นกระบวนการในการบริหารกิจกรรมต่างๆ ของรัฐ เพื่อให้สาธารณกิจต่างๆ ดำเนินไปตามวัตถุประสงค์ของรัฐ รัฐประศาสนศาสตร์ (Public Administration) เป็นองค์ความรู้เกี่ยวกับการบริหารงานภาครัฐ
ปรัชญา ของการบริหารงานภาครัฐ 1. ระดับการยอมรับสิทธิเสรีภาพ และศักดิ์ศรีของมนุษย์ 2. การยอมรับในความสามารถและ ธรรมชาติของมนุษย์ 3. อำนาจและรูปแบบการปกครอง 4. ปรัชญาหรือข้อเท็จจริงที่เป็น ค่านิยมทางการบริหาร
รัฐประศาสนศาสตร์กับรัฐศาสตร์ 1. การเมืองเป็นปัจจัยแวดล้อมที่มีอิทธิพลต่อการบริหาร 2. การรับนโยบายจากฝ่ายการเมืองไปปฏิบัติ 3. การมีส่วนร่วมของประชาชนในทาง การบริหาร 4. การนำทฤษฎีระบบมาใช้ในการวิเคราะห์
รัฐประศาสนศาสตร์กับนิติศาสตร์ 1. สร้างความมั่นคงให้เกิดขึ้นแก่รัฐและ การบริหารภาครัฐ 2. สร้างความชอบธรรมแก่การบริหารและ ดำเนินงานภาครัฐ 3. เป็นเครื่องมือรองรับการบริหารรัฐกิจ
รัฐประศาสนศาสตร์กับเศรษฐศาสตร์ 1. นำมาใช้ในการวิเคราะห์ความเป็นไปได้ ของโครงการ 2. นำมาใช้ในกระบวนการงบประมาณแผ่นดิน 3. นำมาใช้ในการพฤติกรรมการตัดสินใจของ ประชาชน 4. นำมาใช้ในการตัดสินใจของรัฐบาล 5. นำมาใช้ในการตัดสินใจเกี่ยวกับสินค้าสังคม 6. นำมาใช้ในตัดสินใจเกี่ยวกับการบริหารภาษีอากร
รัฐประศาสนศาสตร์กับการบริหารธุรกิจ 1. การกำหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ และ กลยุทธ์ 2. การบริหารงานมุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์ 3. การบริหารงานแบบบูรณาการ 4. การแปรรูปกิจกรรมของรัฐให้เป็น เอกชน (Privatization) 5. การให้ความสำคัญต่อ ระบบคุณภาพ
รัฐประศาสนศาสตร์กับจิตวิทยา 1. ใช้จูงใจในการทำงาน 2. การศึกษาปฏิสัมพันธ์ทางสังคม 3. การศึกษาทัศนคติ 4. นำไปใช้ในการบริหารและการ ทำงานของบุคคลในองค์การ
รัฐประศาสนศาสตร์กับสังคมวิทยา 1. เข้าใจสาเหตุและพฤติกรรมระหว่าง บุคคลในองค์การ 2. เข้าใจเรื่องขององค์การ 3. นำไปใช้ในการบริหารสภาพแวดล้อม ภายนอกองค์การ 4. ต้องคำนึงถึงผลกระทบต่อสถาบันต่างๆ 5. นำไปใช้ในการบริหารความขัดแย้ง
แนวการศึกษารัฐประศาสนศาสตร์ 1. ใช้มิติของเวลา - ข้อดี ง่ายในการเห็นพัฒนาการของความรู้ที่เกิดขึ้น - ข้อจำกัด ไม่เน้นการประยุกต์ใช้ 2. ใช้มิติขอบเขตและจุดมุ่งเน้น - ข้อดี เห็นปริมณฑลและจุดเน้นของการศึกษาที่ชัดเจน และอาจใช้ทฤษฎีหลากหลายมาใช้ร่วมกันได้ - ข้อจำกัด ไม่เห็นพัฒนาการของความรู้ตามช่วงเวลา 3. ใช้มิติหน่วยวิเคราะห์ แบ่งเป็นโครงสร้าง บุคคล กระบวนการ ชุมชน ประชาชน และสภาพแวดล้อม - ข้อดี บูรณาการทฤษฎีหลากหลายมาใช้ร่วมกันได้ในหน่วยวิเคราะห์นั้น - ข้อจำกัด ไม่เห็นความชัดเจนของพัฒนาการของความรู้ในแต่ละช่วงเวลา
ขอบเขตและสถานภาพ ของรัฐประศาสนศาสตร์ 1. นโยบายสาธารณะ - การกำหนด การนำไปปฏิบัติ และการประเมินผล 2. วิทยาการจัดการ เน้นการจัดการเชิงปริมาณ เพื่อตัดสินใจและแก้ไขปัญหา 3. ทางเลือกสาธารณะ การวินิจฉัยสั่งการโดยอาศัยความรู้ทาง เศรษศาสตร์มาประยุกต์ใช้ เพื่อให้เกิดการตัดสินใจในภาครัฐได้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด 4. การบริหารการพัฒนา เป็นการบริหารเพื่อการพัฒนา ตลอดจนเพื่อเสริมสร้างสมรรถนะทางการบริหาร เพื่อตอบสนองต่อวัตถุประสงค์และเป้าหมายของการพัฒนาประเทศ 5. การจัดการภาครัฐแนวใหม่ นำแนวคิดการจัดการสมัยใหม่ มาประยุกต์ใช้เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพทางการบริหาร
สถานภาพ ของรัฐประศาสนศาสตร์ 1. เป็นศาสตร์และศิลป์ 2. มุ่งเน้นการบริหารภาครัฐ 3. เป็นสหวิทยาการมากขึ้น 4. นำไปสู่การปฏิบัติมากขึ้น 5. กึ่งวิชาชีพ