อ่านใกล้ - เรียนไกล รองศาสตราจารย์ ดร.ทองอินทร์ วงศ์โสธร
วิกฤตการอ่านของคนไทย คนไทยอ่านหนังสือปีละ 8 บรรทัด (2548) คนไทยอ่าน 5 เล่ม / คน / ปี สิงค์โปร์ 17 เล่ม / คน / ปี สหรัฐอเมริกา 50 เล่ม / คน / ปี
การอ่านหนังสือของนักศึกษา มสธ. 1 ชุดวิชา ประมาณ 900 หน้า หน้าหนึ่ง ประมาณ 30 บรรทัด รวม 27,000 บรรทัด
อ่านต่อวัน ของนศ. มสธ. ถ้าเรียน 2 ชุดวิชา = 225 x 2 = 450 บรรทัด ถ้าเรียน 2 ชุดวิชา = 225 x 2 = 450 บรรทัด นศ. มสธ. อ่าน = 450 บรรทัดต่อวัน
อ่านต่อปี ของ นศ. มสธ. 1 ชุดวิชา เรียน = 3 เล่ม แบบฝึกอีก = 1 เล่ม อ่านต่อปี ของ นศ. มสธ. 1 ชุดวิชา เรียน = 3 เล่ม แบบฝึกอีก = 1 เล่ม รวม = 4 เล่ม ปีหนึ่งเรียน 4 ชุดวิชา = 16 เล่ม ภาคร้อน 1 ชุดวิชา = 4 เล่ม รวม 1 ปี = 20 เล่ม
คนไทยอ่านหนังสือโดยเฉลี่ย คนไทยอ่านหนังสือเฉลี่ย 94 นาทีต่อวัน (วรรณี แกมเกตุ: 2552) คนไทยอ่านหนังสือเฉลี่ย 1.59 ชั่วโมงต่อวัน (สำนักงานสถิติแห่งชาติ: 2548)
ปี 2552 เวียตนาม อ่าน 60 เล่มต่อปี สิงค์โปร์ อ่าน 40-60 เล่มต่อปี เวียตนาม อ่าน 60 เล่มต่อปี สิงค์โปร์ อ่าน 40-60 เล่มต่อปี มาเลเซีย อ่าน 40 เล่มต่อปี ไทย อ่าน 2-5 เล่มต่อปี (วิสรวล อร่ามเจริญ: 2552)
คนไทย 6 ขวบขึ้นไป ปี 2546 อ่าน 61.2 % 2548 อ่าน 69.1 % ปี 2546 อ่าน 61.2 % 2548 อ่าน 69.1 % 2551 อ่าน 66.3 %
แยกตามภูมิภาคในกลุ่มเด็กเล็ก สถิติการอ่าน 2551 แยกตามกลุ่ม วัยเด็ก อ่าน 81.5 % เยาวชน อ่าน 78.6 % กลุ่มทำงาน อ่าน 64.3 % ผู้สูงอายุ อ่าน 39.3 % แยกตามภูมิภาคในกลุ่มเด็กเล็ก กรุงเทพฯ อ่าน 45.3 % อีสาน อ่าน 31.3 %
สำนักงานสถิติแห่งชาติ ปี 2548 คนไทย 60 ล้านคน อ่าน 41 ล้านคน (70%) ไม่ยอมชอบอ่าน 18 ล้านคน (30%) อ่านไม่ออก 3.3 ล้านคน สาเหตุหนึ่ง : ใช้เวลาดูโทรทัศน์
อัตราการซื้อหนังสือของคนไทย 2 เล่ม/คน/ปี หนังสือที่ขายดีที่สุด หนังสือดารา นิยาย เรื่องย่อละคร ทีวี กีฬา สุขภาพ คู่มือต่าง ๆ
แนวทางส่งเสริม พระราชบัญญัติส่งเสริมการอ่าน นโยบายของรัฐบาล การอ่านเป็นวาระของชาติ 2 เมษายน ทุกปี “วันรักการอ่าน” ปี 2552-2561 ทศวรรษแห่งการอ่าน กรุงเทพฯ “มหานครแห่งการอ่าน”
ประโยชน์ของการอ่าน Reading Makes a full man Writing Makes an Exact man Conference Makes a Ready Man
ศิลปะการอ่านหนังสือ ธีระพันธ์ จอไพบูลย์ เขียนรูปและเล่ม ดร.ครรชิต มาลัยวงศ์ เขียน ธีระพันธ์ จอไพบูลย์ เขียนรูปและเล่ม ISBN 974 8050 49 1 พิมพ์ครั้งแรก ธันวาคม 2528 ราคาเล่มละ 15 บาท
อ่านอะไร น.ม.ส. จดหมายจางวางหร่ำ “แม่ของเจ้ามีความหวาดหวั่งเกรงว่า เจ้าจะเรียนมากเกินไป ด้วยเห็นลูกท่านที่ไป ๆ กลับมา กลายเป็นคนแก่ดูอะไรไกล ไม่เห็น มีคำกล่าวว่าเป็นด้วยอ่านหนังสือเหลือเกินไปนัก ส่วนความเห็นของข้านั้นเห็นว่า ถ้าตามันจะสั้นด้วยเรียนมากก็ ชั่งหัวมัน ปล่อยให้มันสั้นเถิด เวลาเจ้าอยู่เมืองนอก ข้าจะให้เงินเจ้าซื้อแว่นตา เวลากลับมาเมืองไทย เจ้าจะมารับจ้างข้าทำการ ข้าก็คงให้เงินเดือนเจ้าพอซื้อแว่นตาเหมือนกัน” น.ม.ส. จดหมายจางวางหร่ำ
เทคนิคการอ่านแบบ R E A P R = Read คือการอ่านเนื้อหาทั้งหมด E = Encode คือการบันทึกสิ่งที่อ่านให้เป็นคำพูดของตน A = Annotate คือการสรุปประเด็น ตามความเข้าใจของตน P = Ponder คือการทบทวน และไตร่ตรองเนื้อหา (M.Eant: 1976)
สำหรับผู้ปกครอง ควรพาไปร้านหนังสือ และเปิดโอกาสให้ลูกได้เลือกหนังสือตามความสนใจของลูก โดยอาจจะมีข้อกำหนดว่าเลือกได้ 1-2 เล่ม การทำเช่นนี้จะเปิดโอกาสให้ลูกได้หนังสือที่ตนเองชอบ ถูกใจ และเริ่มอ่านในที่สุด การเป็นแบบอย่างที่ดีในการอ่าน ซึ่งเป็นเรื่องที่สำคัญมาก พ่อแม่ผู้ปกครองเป็นต้นแบบที่ดี ลูกจะเลียนแบบ อ่านหนังสือพิมพ์ นิตยสาร อ่านจากอินเทอร์เน็ต แหล่งข้อมูลต่าง ๆ ซึ่งจะเป็นแนวทางและต้นแบบที่ดีให้กับลูก (ดร.พัฒนา ชัชพงศ์)