โครงงานกินอยู่อย่างพอเพียงเพื่อสุขภาพที่ดี

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สุดยอดเทคนิค (คำแนะนำ) ของฉัน
Advertisements

การซ้อนทับกัน และคลื่นนิ่ง
ช่วงชั้นที่ 3 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
นวัตกรรมน่ารู้ นางสาวสินีนาฎ อุ่นใจเพื่อน
สื่อประกอบการเรียนรู้
เรื่องการเจริญเติบโตและพัฒนาการที่เหมาะสมตามวัย และ การปฏิบัติตนให้เหมาะสม กับพัฒนาการทางด้านร่างกาย พลศึกษาและสุขศึกษา ป.4.
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ตัวเรา
เรื่อง วัยรุ่น เสนอ คุณครู สุดารัตน์ นันทพานิช
เรื่อง วัฏฏะ 3 อาหารเสริมของวัยรุ่น
การเจริญเติบโตของมนุษย์
บทที่ 2.
โครงงาน กินอยู่อย่างพอเพียงเพื่อสุขภาพที่ดี
โครงงาน กินอยู่อย่างพอเพียงเพื่อสุขภาพที่ดี
โครงงาน กินอยู่อย่างพอเพียงเพื่อสุขภาพที่ดี
โครงงาน กินอยู่อย่างพอเพียงเพื่อสุขภาพที่ดี
โครงงาน กินอยู่อย่างพอเพียงเพื่อสุขภาพที่ดี
โครงงาน กินอยู่อย่างพอเพียงเพี่อสุขภาพที่ดี
โครงงาน กินอยู่อย่างพอเพียงเพื่อสุขภาพที่ดี
การเจริญเติบโตของวัยรุ่น
โครงงาน กินอยู่อย่างพอเพียงเพื่อสุขภาพที่ดี
กินอยู่อย่างพอเพียงเพื่อสุขภาพที่ดี
โครงงานสุขภาพ รายชื่อผู้จัดทำ ด.ญ. กนกภรณ์ คุ้มโนนคร้อ ม.1/5 เลขที่ 1
โครงงาน กินอยู่อย่างพอเพียงเพื่อสุขภาพที่ดี
โครงการกินอยู่อย่างพอเพียง
โครงงานสุขภาพ สมาชิกกลุ่ม ฟิชโช 1. ด.ญ.กัญญาณัฐ โอบอ้อม เลขที่ 5 ม.1/15 2. ด.ช.ชลกวิน วัตรศิริทรัพย์ เลขที่ 12 ม.1/15 3. ด.ช.ธณัติ คิว เลขที่ 18 ม.1/15.
กินอยู่อย่างพอเพียงเพื่อสุขภาพที่ดี
เรื่อง โครงงานสุขภาพ กลุ่ม C.A.L.I.N สมาชิก:
โครงงาน กินอยู่อย่างพอเพียงเพื่อสุขภาพที่ดี
การดูแลการเจริญ เติบโต ในวัยรุ่น
โครงงาน กินอยู่อย่างพอเพียงเพื่อสุขภาพที่ดี
โครงงานสุขศึกษา กินอยู่อย่างพอเพียงเพื่อสุขภาพ ที่ดี
วิชา สุขศึกษาและพลศึกษา ป.1 เรื่อง การเจริญเติบโตและพัฒนาการของร่างกาย
การพัฒนาการทางกาย ของวัยรุ่น.
รายงานเรื่อง เบาหวาน จัดทำโดย ด.ช.พงศกร พรมวงษ์ ม.1/5 เลขที่ 29
การเปลี่ยนแปลงเมื่อเข้าสู่วัยรุ่น
ชื่อโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของกลุ่มเสี่ยงโรคหัวใจและหลอดเลือด
การดูแลสุขภาพเพื่อพัฒนาบุคลิกภาพ
เรื่อง การเลือกบริโภคอาหาร.
สาขา เทคโนโลยีการอาหาร
การดำเนินงานอาชีวเวชศาสตร์: แพทย์ที่ผ่านการอบรม
การบริหารงบ PP ปี 52 งบ PP เขต จว./อำเภอ Non-UC สธ. Non-UC สปสช.
แนวทางการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม
โครงงาน กินอยู่อย่างพอเพียงเพื่อสุขภาพที่ดี
ปัญหาที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงในวัยรุ่น
อย่าด่วนเชื่อเพราะมีเหตุนึกเดาเอาเอง
การประเมินภาวะโภชนาการ ในผู้ที่เป็นเบาหวาน
การเลื่อนเงินเดือนในระบบใหม่
นางสาวอนุสรณ์ สนิทชน , CDT นักโภชนาการ โรงพยาบาลอุดรธานี
การควบคุมน้ำหนัก เป็นการรักษาสุขภาพให้แข็งแรง และทำได้ไม่ยาก ถ้าเข้าใจ
เบาหวาน ผลิตโดย...กลุ่มงานสุขศึกษา โรงพยาบาลยะลา.
นักโภชนาการชำนาญการ ศูนย์อนามัยที่ 6
อาหารหลัก 5 หมู่ โดย นางสาวฉัตรสุดา มงคลโภชน์
สรุปสถิติ ค่ากลาง ค่าเฉลี่ยเลขคณิต เรียงข้อมูล ตำแหน่งกลาง มัธยฐาน
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43102
คณิตศาสตร์ (ค33101) หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 เรื่อง สถิติ
การเจริญเติบโตของร่างกาย
โรคเบาหวาน ภ.
องค์ประกอบที่4การจัดการสิ่งแวดล้อมในโรงเรียนที่เอื้อต่อสุขภาพ
เฝ้าระวังภาวะโภชนาการเด็ก6-12 ปีจังหวัดเลย ปี2556
คนไทยไร้พุง งานสุขศึกษา โรงพยาบาลพะเยา.
ตกลง บริการ ประเมิน ปัญหา หา แนวทาง แก้ไข ติดตาม ประเมินผล Self Assessmemt ---> ประเมิน ความรู้, พฤติกรรมสุขภาพ ----> ก้างปลาปัญหา ----> Recall อาหาร 24.
ชื่อผู้วิจัย: นางสาวเมธิกา ชาพิมล
การเจริญเติบโตของร่างกาย
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43101
ณัชช์ธรณ์ หอมกลิ่นเทียน
นโยบายองค์การบริหารส่วนตำบลศิลา อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น เรื่อง การสร้างสุขภาพประชาชน ในเขต อบต. ศิลา “ คนศิลากินดี อยู่ดี สุขภาพแข็งแรง ไม่มี ภาวะอ้วนลงพุง.
โปรแกรมเฝ้าระวัง การเจริญเติบโตของเด็กอายุ 0-18 ปี
การปฏิบัติตัวในวัยรุ่น
การปฏิบัติตัวของวัยรุ่น
ผลการประเมิน คุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีการศึกษา
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โครงงานกินอยู่อย่างพอเพียงเพื่อสุขภาพที่ดี ชื่อผู้จัดทำโครงงาน 1 ด.ช. รังสิชนม์ วีรโชติโยธิน ชั้น ม.1/2 เลขที่ 44 2 ด.ญ.ฐิตาภรณ์ ชูโต ชั้น ม.1/2 เลขที่ 9 3 ด.ญ.นรมน ทารักษา ชั้น ม.1/2 เลขที่ 23 4ด.ช.ปิยพนธ์ ปิยะพันธ์ ชั้น ม.1/2 เลขที่ 32 5 ด.ญ.ปิยาพัชร เข็มกลัด ชั้น ม.1/2 เลขที่ 33

บทที่1 ปัญหาและสาเหตุ ชื่อ ค่าดัชนีมวลกาย ระดับมวลกาย ปัญหา สาเหตุ รังสิชนม์ 20.31 ปกติ ไม่ได้มีปัญหาอะไรเพราะร่างกายอยู่ในเกณฑ์สมส่วน ทานอาหารที่มีประโยชน์และออกกำลังกาย ฐิตาภรณ์ 19.05   นรมน 21.36 ออกกำลังกายทุกวัน ปิยพนธ์ 16.22 น้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ มีปัญหาน้ำหนักน้อยเกินไปและร่างกายขาดความอ่อนตัว ทานอาหารไม่ครบ 5 หมู่ ปิยาพัชร 19.23 ออกกำลังกายสม่ำเสมอ

บทที่2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง การเปลี่ยนแปลงของวัยรุ่นสามารถแบ่งได้ 2 ด้านคือ 1. การเปลี่ยนแปลงทางกาย เช่น ความสูงและน้ำหนักตัวเพิ่มขึ้นเร็ว แขนขายาวขึ้น เพศชาย เสียงแตกหนุ่ม มีกล้ามเนื้อมากขึ้น มีเครา เพศหญิง หน้าอกมีขนาดใหญ่ขึ้น สะโพกผายออก 2. การเปลี่ยนแปลงด้านจิตใจ ความเปลี่ยนแปลงต่อไปนี้ พ่อและแม่หรือผู้ใหญ่ที่ใกล้ชิดควรทราบ จะได้ไม่รู้สึกว่าบุตรหลานของตนเริ่มเปลี่ยนแปลงไปเป็นคนที่ดื้อรั้นไม่เชื่อฟัง การเจริญเติบโตสมวัย เป็นความสัมพันธ์ระหว่างอายุกับน้ำหนักตามเกณฑ์มาตรฐาน และความสัมพันธ์ระหว่างอายุ กับส่วนสูงตามเกณฑ์มาตรฐาน โดยการรับประทานอาหารให้ครบ 3 มื้อและครบ 5 หมู่ ให้ถูกต้องตามหลักโภชนาการ สารอาหารที่วัยรุ่นต้องการ ไม่ควรรับประทานอาหารกลุ่มมังสวิรัติ เพราะส่วนใหญ่จะเลือกทานอาหารไม่ครบถ้วนทุกหมู่ ทำให้เกิดภาวะขาดสารอาหาร วิธีการดูแลน้ำหนักตัว รับประทานอาหารพวก ผัก ผลไม้ และ เนื้อสัตว์ ให้เหมาะสมกับความต้องการของร่างกาย รวมทั้งออกกำลังกายเป็นประจำ เสริมสร้างสมรรถภาพทางกาย ควรออกกำลังกาย หรือเล่นกีฬาเป็นประจำเช่น วิ่ง ขี่จักรยาน

บทที่3 วิธีดำเนินงาน 1. แบ่งหน้าที่ให้กับสมาชิกทุกคนภายในกลุ่ม 1.   แบ่งหน้าที่ให้กับสมาชิกทุกคนภายในกลุ่ม 2.   วางแผนการบันทึกการทดสอบสมรรถภาพ การชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง  3.   ชวนสมาชิกภายในกลุ่มออกกำลังกายและควบคุมการรับประทานอาหาร 4.   บันทึกน้ำหนักส่วนสูง  การชั่งน้ำหนักทุกอาทิตย์ 5.   นัดวันทดสอบสมรรถภาพทางรางกาย 6.   บันทึกผลการทดสอบสมรรถภาพ 7.   ให้สมาชิกทุกคนภายในกลุ่มควบคุมน้ำหนักของตนเองและออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ

บทที่4 ผลการดำเนินงาน ชื่อสมาชิก นน./ลส. 10/11/2012 21/11/2012 1/12/2012 12/12/2013 24/12/2013 5/01/2013 22/01/2013 29/01/2013 รังสิชนม์ ลส. 62/166 61/166 60/167 59/168 60/168 59/169 58/169 ฐิตาภรณ์ นน. 48/159 47/159 49/160 48/161 49/162 50/162 นรมน 50/158 52/158 51/158 52/159 54/159 55/159 ปิยพนธ์ 50/167 50/168 49/168 49/169 49/170 47/171 47/172 48/172 ปิยาพัชร 55/163 56/163 54/164 55/164 54/165 53/166

บทที่5 สรุปผลและอภิปรายผลการดำเนินงาน รังสิชนม์ในวันที่ 10/11/55 มีน้ำหนัก 62 ส่วนสูง 166 วันที่ 29/01/56 มีน้ำหนัก 58 ส่วนสูง 169 น้ำหนักลด4กิโลกรัมและส่วนสูงเพิ่ม3เซนติเมตร สาเหตุ ควบคุมอาหารและออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ ฐิตาภรณ์ในวันที่ 10/11/55 มีน้ำหนัก 48 และส่วนสูง159 วันที่ 29/01/56 มีน้ำหนัก 50 ส่วนสูง 162 น้ำหนักเพิ่ม2กิโลกรัมและส่วนสูงเพิ่ม 3 เซนติเมตร สาเหตุ ทานอาหารที่มีประโยชน์ นรมนในวันที่ 10/11/55 มีน้ำหนัก 50 ส่วนสูง158 วันที่ 29/01/56 มีน้ำหนัก 54 ส่วนสูง 159 มีน้ำหนักเพิ่มขึ้น4กิโลกรัมและส่วนสูงเพิ่ม 1เซนติเมตร สาเหตุ ไม่ค่อยออกกำลังกาย ปิยพนธ์ในวันที่ 10/11/55มีน้ำหนัก50 ส่วนสูง 167 วันที่ 29/01/56 มีน้ำหนัก 48 ส่วนสูง 172 มีน้ำหนักลดลง 2 กิโลกรัม ส่วนสูงเพิ่มขึ้น 5 เซนติเมตร สาเหตุ ออกกำลังกายแต่กินอาหารไม่ครบ 5 หมู่ ปิยาพัชรในวันที่ 10/11/55มีน้ำหนัก 55 ส่วนสูง 163 วันที่ 29/01/56 มีน้ำหนัก 53 ส่วนสูง 166 มีน้ำหนักลดลง 2 กิโลกรัมส่วนสูงเพิ่มขึ้น 3 เซนติเมตร สาเหตุ ออกกำลังกาย

บรรณานุกรม http://zayyes.com/index.php?topic=6151.0 http://www.myfirstbrain.com/student_view.aspx?ID=44133