โดย สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย สนับสนุนโดย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
Advertisements

การฝึกอบรมหลักสูตร การบริหารจัดการโครงการ และการติดตามประเมินผล
สมชัย จิตสุชน สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย 16 กุมภาพันธ์ 2550
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
Research Problem ปัญหาการวิจัย
กรมสรรพสามิต หลักการเขียนรายงาน เสนอผลงานประกวดรางวัลนวัตกรรม.
การทดลองและการเขียนรายงานผลการทดลองทางวิทยาศาสตร์
การเสวนาแลกเปลี่ยนประสบการณ์เรื่อง การจัดทำแผนกลยุทธ์ทางการเงิน
งานนำเสนอแฟ้มสะสมผลงาน
เรื่องสืบเนื่อง การวางแผนและบริหารโครงการสำหรับส่วน ราชการ
ห้องเรียนแห่งการเปลี่ยนแปลง
หลักการพัฒนา หลักสูตร
การพัฒนาการปิด การเจรจาต่อรอง
ความหมาย ปรัชญาและวัตถุประสงค์ ของงานส่งเสริมการประมง
การดำเนินงานสุขศึกษา ในชุมชน
การพัฒนาตัวชี้วัดสุขภาพผู้สูงอายุ: กรณีศึกษาจังหวัดลำพูน Development of Elderly Health Indicators in Thailand.
ปัจจัยแห่งความสำเร็จในการก้าวสู่ การเป็นหน่วยงานจัดการความรู้ดีเด่น
Certo, S.C. กล่าวว่า การประเมิน ข่าวสาร คือ กระบวนการกำหนดว่า การได้มาซึ่งข่าวสารนั้นเป็นเรื่องที่ชอบ ด้วยเหตุผล (justified) ซึ่งฝ่ายจัดการ มักจะเน้นในแง่คุณค่าในแง่ตัวเงิน.
บทที่7 ช่องว่างองค์กร 12/9/05 ช่องว่างองค์กร.
วิทยาศาสตร์การคิด วิทยาศาสตร์การคิด
กระบวนการคุณภาพ วัตถุประสงค์: เพื่อให้ผู้เรียน
Health Strategic Management and Planning “การประเมินแผนกลยุทธ์”
การเขียนโครงการ.
คำอธิบายแนวทางการให้คะแนน เอกสาร/หลักฐานการดำเนินงาน
การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
การวัดและประเมินผลตามสภาพจริง
- Research Questions - Hypothesis & Testing Hypothesis
หมวด2 9 คำถาม.
โครงการ : การพัฒนาและ ปรับปรุงการทำงานด้วย Challenge โดย สำนักงานพัฒนา ชุมชนอำเภอเด่นชัย.
“ประเมินสมรรถนะ Online”
ผลการดำเนินงานองค์กร (Performance Measurement)
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
การศึกษาความเป็นไปได้ (Problem Definition and Feasibility Study)
ความก้าวหน้าการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สูการปฏิบัติ
การสำรวจหา ค่ากลาง นโยบายรัฐบาล เรื่องการพัฒนาสุขภาพของ ประชาชน ประกาศเมื่อ 23 สิงหาคม จัดให้มีมาตรการสร้างสุขภาพโดยมี เป้าหมายเพื่อลดอัตราป่วย.
1 เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ กลุ่มที่ 5. 2 สมาชิกกลุ่ม 18.
องค์กรนำการปศุสัตว์ไทย
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด2 9คำถาม.
วาระที่ 3.5 การขอสนับสนุนงบประมาณ จากกองทุนสิ่งแวดล้อม
การนำเกณฑ์คุณภาพการศึกษาเพื่อการดำเนินงานที่เป็นเลิศไปพัฒนาองค์กร
Blueprint for Change ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลง (Blueprint for Change) คืออะไร ? เทคนิคการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารราชการให้เกิดความพร้อมในการสนับสนุนและผลักดันให้ยุทธศาสตร์ของส่วนราชการเกิดผลทางปฏิบัติ
ทำไมต้องปรับระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ?
การพัฒนาคุณภาพตามเกณฑ์ PCA หน่วยบริการปฐมภูมิ
ปัจจัยของการสร้างนวัตกรรม
ปัจจัยของการสร้างนวัตกรรม
และการประเมินแบบมีส่วนร่วม
เรื่องหลักการแก้ปัญหา
“โครงการสร้างสุขระดับจังหวัด….” จากแผนงานสร้างเสริมสุขภาพจิต(สสส.)
การออกแบบตัวชี้วัดที่ประสบความสำเร็จในการทำ E-Learning โดย เบคิม เฟทาจิ , เมย์ลินดา เฟทาจิ มหาวิทยาลัยยุโรปตะวันออกเฉียงใต้ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีร่วมสมัย.
รศ.ดร.วิโรจ อิ่มพิทักษ์ อธิการบดีมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
การธำรงรักษาระบบคุณภาพหลังการรับรอง
Evaluation as a Strategy ; สำนักประเมินผล สำนักงบประมาณ
การประกันคุณภาพที่นักศึกษาควรรู้
การเขียนข้อเสนอโครงการ
การกำหนดโจทย์วิจัย/ปัญหาการวิจัย (Research problem )
บรรยาย โดย อาจารย์วทัญญู มุ่งหมาย
การกำหนดแผนงาน ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กังวาน ยอดวิศิษฎ์ศักดิ์
 โครงการเป็นเครื่องมือในการบริหารงานและ พัฒนาองค์กร และเป็นการแปลงแผนแม่บทไปสู่ การปฏิบัติ
การพัฒนากระบวนการอ่านในรายวิชาภาษาไทย ของนักศึกษาสาขา ช่างยนต์
หลักการเขียนโครงการ.
การพัฒนาระบบการประเมินผลตัวชี้วัด แผนยุทธศาสตร์องค์กรสาธารณสุขน่าน ปี สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดน่าน นายแชน อะทะไชย นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ.
ชี้แจงหลักเกณฑ์การโอนเงิน ระเบียบการเบิก-จ่ายงบประมาณ
1. การ ดำเนินตามระเบียบงานสาร บรรณที่เกี่ยวข้อง 2. ความสามารถ ดำเนินการด้านสาร บรรณตามเวลาที่กำหนด 3. มีระบบ ป้องกันการสูญหายของ เอกสาร 4. การเผยแพร่ขั้นตอนในการ.
7.Discussion การอภิปราย นายวัชรกร เดชะบุญ รหัสนิสิต
3. หลักการวิจัย หลักการวิจัย : สำราญ สาราบรรณ์.
บทที่ 7 การควบคุมเชิงกลยุทธ์
แนวทางพัฒนางานประจำ สู่งานวิจัย
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
ศึกษาผลการประเมินการ ดำเนินงานระบบเรียนรู้ ของ วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์ ปีการศึกษา 2552 – 2554 นางอรัญญา เอี่ยมภักดิ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การวิเคราะห์ผลตอบแทนทางสังคม Social Return on Investment (SROI) SROI 101 and application โดย สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย สนับสนุนโดย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ และ Rockefeller Foundation

แนวทาง Session 1: Introductory SROI Session 2: Example and practice I Session 3: Example and practice II Session 4: Discussion, Q&A แนวทาง

Introductory SROI นำมาจาก A guide to Social Return on Investment Session 1 Introductory SROI นำมาจาก A guide to Social Return on Investment

ผลตอบแทนทางสังคม SROI เป็นเครื่องมือในการวัดว่า โครงการ หรือ กิจกรรม ที่ทำ ให้ผลตอบแทนคุ้มค่ากับเงินหรือทรัพยากรที่ลงไปหรือไม่ โดยที่ผลตอบแทน ดูตั้งแต่ ผลประโยชน์ที่เป็นเงิน หรือผลดีที่เกิดต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม ผลดีต่อสังคมและสิ่งแวดล้อมเป็นอย่างไร วัดให้ออกมาเป็นมูลค่าเหมือนสินค้าได้อย่างไร ? 𝑆𝑅𝑂𝐼= มูลค่าของผลประโยชน์ การลงทุน วัดความเปลี่ยนแปลงที่เกิดกับ stakeholder เป็นการวิเคราะห์แบบ outcome based ผลตอบแทนทางสังคม SROI

ผลต่อสังคม และสิ่งแวดล้อม ผลประโยชน์ที่เป็นเงิน

สำหรับการประเมิน เป็นการมองย้อนหลังสิ่งที่ทำไปแล้ว ว่าผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นนั้นมีมูลค่าทางสังคมเท่าไร สำหรับการพยากรณ์ เป็นการมองไปข้างหน้า ดูว่ามูลค่าทางสังคมจะเปลี่ยนแปลงไปอย่างไร ถ้ามีการทำโครงการหนึ่งๆ ขึ้น SROI

History of SROI Mid 1990s: REDF & Jed Emerson Early 2000s: new economics foundation Mainstreaming: nef consulting & others History of SROI Source: NEF

หลักการสำคัญ การมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย วิเคราะห์ว่าเกิดการเปลี่ยนแปลงอะไร วัดเฉพาะมูลค่าของสิ่งที่สำคัญ วัดเฉพาะสิ่งที่สามารถวัดได้ ไม่กล่าวเกินจริง มีความโปร่งใส ตรวจสอบผล หลักการสำคัญ

การมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในการวิเคราะห์แผนที่ผลลัพธ์ การเก็บข้อมูล ผลลัพธ์ ตัวชี้วัด ตัวแทนทางการเงิน Deadweight, attribution, displacement Drop-off, benefit period การคำนวณ การรายงาน ขั้นตอน SROI

การใช้ SROI ในการปรับปรุงการให้บริการ ทำให้เข้าใจว่าสิ่งที่ดำเนินการเกิดมูลค่าต่อสังคมอย่างไร และจะสามารถเพิ่มมูลค่านั้นได้อย่างไร ช่วยให้สามารถจัดการกับผลลัพธ์ที่ไม่ได้คาดหวังไว้ ช่วยทำให้เห็นความสำคัญของผู้อื่นที่ช่วยทำให้เกิดผลลัพธ์ร่วมกัน ช่วยให้เข้าใจสิ่งที่องค์กรต้องการและสิ่งที่ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียต้องการ ช่วยให้เกิดการสนทนากับผู้มีส่วนได้ส่วนเสียซึ่งจะทำให้เกิดการออกแบบบริการที่มีความหมายกับสังคม การใช้ SROI ในการปรับปรุงการให้บริการ

SROI มีประโยชน์น้อยถ้า ได้เกิดการวางแผนยุทธศาสตร์ไปเรียบร้อยแล้ว ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ไม่สนใจผลการวิเคราะห์ ทำเพื่อพิสูจน์มูลค่าของบริการ โดยไม่มีวัตถุประสงค์ในการปรับปรุง หรือไม่มีใช้ในการเปลี่ยนแปลงการทำงานให้ดีขึ้น SROI มีประโยชน์น้อยถ้า

ในการเปรียบเทียบระหว่างองค์กรหรือโครงการ เพราะมีผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่แตกต่างกัน แต่ ใช้ในการเปรียบเทียบโครงการเดิมหรือองค์กรเดิม ในช่วงเวลาต่างๆ ไม่ควรใช้ SROI

Example and practice I คนไทยไร้พุง Session 2 Example and practice I คนไทยไร้พุง

Example and practice II น้ำดื่มปนเปื้อนสารตะกั่วในโรงเรียน Session 3 Example and practice II น้ำดื่มปนเปื้อนสารตะกั่วในโรงเรียน

Session 4 อภิปราย ถาม-ตอบ

รอพบกับเรา www.sroi-thailand.wikispaces.com ขอขอบคุณทุกท่าน รอพบกับเรา www.sroi-thailand.wikispaces.com