หนี้สงสัยจะสูญและหนี้สูญ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สหกรณ์ออมทรัพย์ โรงพยาบาลพระศรีมหาโพธิ์ อุบล จำกัด
Advertisements

การคำนวณกระแสเงินสด คำนวณกระแสเงินสดเพื่อใช้ประเมินโครงการลงทุน (Capital budgeting)
สำนักวิชาบัญชี มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย
บทที่ 7 ระบบบัญชีเกี่ยวกับการขายและลูกหนี้
บทที่ 8 ระบบบัญชีเกี่ยวกับเงินสด
การขายผ่อนชำระและการเช่าซื้อ
ศันสนีย์ เทพปัญญา คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ
การจัดการเงินทุนหมุนเวียน
การบัญชีสินค้าแบบต่อเนื่อง
บทที่ 5 การบริหารลูกหนี้
บทที่ 5 การบริหารลูกหนี้
บทที่ 10 งบประมาณลงทุน.
สำนักวิชาบัญชี มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย
บทที่ 3 การเปลี่ยนแปลงในส่วนของ ผู้เป็นหุ้นส่วน
สินทรัพย์หมุนเวียน-สินค้า เงินสด+หลักทรัพย์+ลูกหนี้
ฝึกคำนวณค่าโทรศัพท์มือถือ
การบัญชีวิสาหกิจชุมชน
การวางแผน ธุรกิจ เป็นกระบวนการ บริหารจัดการทาง การเงินที่สำคัญของ คณะกรรมการกองทุน หมู่บ้าน.
งบประมาณ และ กลยุทธ์ทางด้านการเงิน ธนชัย ผู้พัฒน์
บริษัท Phuket Solution Lo.,Ltd
การเปิดเผยข้อมูลและ นโยบายการบัญชี
การบันทึกรายการปรับปรุง
ภาษีธุรกิจเฉพาะ.
การวิเคราะห์รายการค้า และหลักการบันทึกบัญชี
กระบวนการลงทะเบียนควบคุมครุภัณฑ์
สถานการณ์ด้านการเงินการคลัง
1.
ลงรายการบัญชีทุกวันเป็นประจำทุกเดือน
การปฏิบัติเกี่ยวกับบัญชีเกณฑ์คงค้าง

บทที่ 12 สินทรัพย์ไม่มีตัวตน ประเภทของสินทรัพย์ไม่มีตัวตน
บทที่ 4 งบการเงิน.
บทที่ 6 การบัญชีสำหรับกิจการซื้อ-ขายสินค้า
การบรรยายครั้งที่ 5 การวิเคราะห์แนวตั้งและแนวนอน
การทำความเข้าใจกับงบทดลอง
งบลงทุน Capital Budgeting
ก. จำนวนครั้งที่สั่งซื้อสบู่ ข. ค่าใช้จ่ายในการสั่งซื้อต่อเดือน
การยกเว้นไม่ต้องปฏิบัติตามระเบียบพัสดุ
เป้าประสงค์ คิดคำนวณกำไร – ขาดทุนจากการประกอบอาชีพ
การฝึกอบรม โครงการ GFMIS-สคร. ผังบัญชีและความถี่ในการส่งข้อมูล
ดูแล ด้วยใจ ห่วงใยด้วย pap โดย ลาเดือน แก้วจินดา 04/04/60.
พยากรณ์โรคมือเท้าและปากในพื้นที่เขต18 (Hand Foot and Mouth Disease)
การรับรองงบการเงินของสำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน ปีงบประมาณ 2518 – 2552
โดย... นางจันทร์เพ็ญ หงษ์อินทร์
LOGO บัญชีรายได้ประชาชาติและองค์ประกอบค่าใช้จ่าย.
03/10/571 โครงการทบทวนแผนยุทธศาสตร์ของสนย.. 03/10/572 โครงการทบทวนแผนยุทธศาสตร์ของสนย.
สรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร 3
หน่วยที่ 4 รายการปรับปรุงและงบทดลอง หลังรายการปรับปรุง
เงินฝากมี 3 ประเภท คือ เงินฝากออมทรัพย์ทั่วไป เงินฝากออมทรัพย์พิเศษ
จิตรา ณีศะนันท์ เจ้าหน้าที่ตรวจสอบภาษี
หน่วยที่ 2 ต้นทุนสินค้าสำเร็จรูป
งบพิสูจน์ยอดเงินฝากธนาคาร
หน่วยที่ 13 การจัดทำรายงาน.
ขั้นตอนการดำเนินการใช้จ่ายเงินรายได้
กำลังคน กระทรวงสาธารณสุข
ระบบบัญชีเดี่ยวและสินค้า
ระบบการเรียกเก็บหนี้
Tall Teak Plaza จุดนัดพบของคนมีสไตล์ สนใจพื้นที่เช่า-พื้นที่โฆษณา
FM FM
2.3 การเสนอตัวอย่างการคำนวณเบี้ยประกัน
บทที่ 5 การบริหารลูกหนี้
วิชาการบัญชีสินค้าและระบบบัญชีเดี่ยว
กรณีศึกษามาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 29 สัญญาเช่า
การรวมธุรกิจ.
บทที่ 3 เงินสดและการควบคุมเงินสด
ผู้อำนวยการกลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 1
การถอนเงินคืนรายรับ ถอนคืนเงินรายรับ ได้ในกรณีดังต่อไปนี้
กรณีศึกษาบริษัท ผู้พิทักษ์ความสะอาด จำกัด
FINANCIAL PLANNING (CASH BUDGET)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

หนี้สงสัยจะสูญและหนี้สูญ 04/04/60

ลูกหนี้การค้า หมายถึง ลูกหนี้ที่เกิดจากการดำเนินการค้าตามปกติของธุรกิจ ลูกหนี้อื่น หมายถึง ลูกหนี้ที่ไม่ได้เกิดจากการดำเนินการค้าตามปกติของธุรกิจ เช่น ลูกหนี้และเงินให้กู้ยืมแก่กรรมการและลูกจ้าง เงินให้กู้ยืมแก่บริษัทในเครือและบริษัทร่วม รายได้อื่นค้างรับ หนี้สูญ หมายถึง ลูกหนี้ที่ได้ติดตามทวงถามจนถึงที่สุดแล้ว แต่ไม่ได้รับชำระหนี้และได้ตัดจำหน่ายออกจากบัญชี 04/04/60

หนี้สงสัยจะสูญ หมายถึง ลูกหนี้ที่คาดว่าจะเรียกเก็บไม่ได้ และ ถือเป็นค่าใช้จ่ายของรอบระยะเวลาบัญชีนั้น ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ หมายถึง จำนวนที่กันไว้สำหรับลูกหนี้ที่คาดว่าจะเรียกเก็บไม่ได้ และ ถือเป็นบัญชีปรับมูลค่าที่ตั้งขึ้น เพื่อแสดงเป็นรายการหักจากบัญชีลูกหนี้ในงบการเงิน เพื่อให้คงเหลือเป็นมูลค่าสุทธิของลูกหนี้ที่คาดหมายว่าจะเก็บได้ 04/04/60

หนี้สงสัยจะสูญให้พิจารณาทั้งลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น และให้พิจารณาแยกต่างหากจากกัน การเปลี่ยนแปลงประมาณหนี้สงสัยจะสูญ ไม่ถือเป็นการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชีหรือหลักการบัญชี ถือเป็นการเปลี่ยนแปลงประมาณการบัญชี 04/04/60

วิธีประมาณหนี้สงสัยจะสูญ 3. พิจารณาลูกหนี้แต่ละราย ร้อยละของยอดขาย 1.1 ยอดขายรวม 1.2 ยอดขายเชื่อ 2. ร้อยละของยอดลูกหนี้ 2.1 ตามอัตราส่วน 2.2 จำแนกตามอายุของหนี้ที่ค้างชำระ 3. พิจารณาลูกหนี้แต่ละราย 04/04/60

บริษัท ก จำกัด ขายสินค้าเป็นเงินเชื่อ ในปี 2545 จำนวน 100,000 บาท ปี 2546 จำนวน 120,000 บาท ณ วันที่ 1 กรกฎาคม 2546 จำหน่ายหนี้สูญ จำนวน 950 บาท ในปี 2547 มีหนี้สูญรับคืน จำนวน 100 บาท ประมาณหนี้สงสัยจะสูญ 1%ของยอดขายเชื่อ 04/04/60

Cr. ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ 1,000 (100,000 X 1%) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2545 Dr. หนี้สงสัยจะสูญ 1,000 Cr. ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ 1,000 (100,000 X 1%) 04/04/60

Dr. ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ 950 Cr. หนี้สงสัยจะสูญ 950 ณ วันที่ 1 กรกฎาคม 2546 ตามกฎหมายภาษีอากร Dr. หนี้สูญ 950 Cr. ลูกหนี้ 950 Dr. ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ 950 Cr. หนี้สงสัยจะสูญ 950 ตามบัญชี Dr. ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ 950 Cr. ลูกหนี้ 950 04/04/60

Cr. ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ 1,200 (120,000 X 1%) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2546 Dr. หนี้สงสัยจะสูญ 1,200 Cr. ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ 1,200 (120,000 X 1%) งบดุล ณ 31 ธันวาคม 2546 ลูกหนี้(สมมติ) 400,000 หัก ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ 1,250 398,750 (1,000-950+1200) 04/04/60

สำหรับปีสิ้นสุด 31 ธันวาคม 2546 งบกำไรขาดทุน สำหรับปีสิ้นสุด 31 ธันวาคม 2546 ตามกฎหมายภาษีอากร ตามบัญชี ค่าใช้จ่าย ค่าใช้จ่าย หนี้สูญ 950 หนี้สงสัยจะสูญ 250 หนี้สงสัยจะสูญ 1,200 04/04/60

ปี 2547 ตามกฎหมายภาษีอากร Dr. ลูกหนี้ 100 Cr. หนี้สูญได้รับคืน(รายได้อื่น) 100 Dr. เงินสด 100 Cr. ลูกหนี้ 100 ตามบัญชี Dr. ลูกหนี้ 100 Cr. ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ 100 Dr. เงินสด 100 Cr. ลูกหนี้ 100 04/04/60

ณ สิ้นปี 2545 บัญชีค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญมีจำนวน 1,000 บาท ลูกหนี้สิ้นปี 300,000 บาท ปี 2546 จำหน่ายหนี้สูญ 200 บาท ลูกหนี้สิ้นปี 400,000 บาท ปี 2547 หนี้สูญได้รับคืน 200 บาท ลูกหนี้สิ้นปี 500,000 บาท ตั้งค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ 2%ของลูกหนี้สิ้นปี 04/04/60

Cr. ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ 5,000 (300,000 X 2% = 6,000 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2545 Dr. หนี้สงสัยจะสูญ 5,000 Cr. ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ 5,000 (300,000 X 2% = 6,000 6,000 – 1,000 = 5,000) 04/04/60

งบกำไรขาดทุน สำหรับปีสิ้นสุด 31 ธันวาคม 2545 งบดุล ณ 31 ธันวาคม 2545 ลูกหนี้ 300,000 หัก ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ 6,000 294,000 งบกำไรขาดทุน สำหรับปีสิ้นสุด 31 ธันวาคม 2545 หนี้สงสัยจะสูญ 5,000 04/04/60

Dr. ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ 200 Cr. หนี้สงสัยจะสูญ 200 ปี 2546 ตามกฎหมายภาษีอากร Dr. หนี้สูญ 200 Cr. ลูกหนี้ 200 Dr. ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ 200 Cr. หนี้สงสัยจะสูญ 200 ตามบัญชี Dr. ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ 200 Cr. ลูกหนี้ 200 04/04/60

Cr. ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ 2,200 (400,000 X 2% = 8,000 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2546 Dr. หนี้สงสัยจะสูญ 2,200 Cr. ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ 2,200 (400,000 X 2% = 8,000 8,000 – (6,000 – 200) = 2,200) 04/04/60

งบกำไรขาดทุน สำหรับปีสิ้นสุด 31 ธันวาคม 2545 งบดุล ณ 31 ธันวาคม 2546 ลูกหนี้ 400,000 หัก ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ 8000 392,000 งบกำไรขาดทุน สำหรับปีสิ้นสุด 31 ธันวาคม 2545 ตามกฎหมายภาษีอากร ตามบัญชี หนี้สูญ 200 หนี้สงสัยจะสูญ 2,000 หนี้สงสัยจะสูญ 2,200 (2,200-200) 04/04/60

ปี 2547 ตามกฎหมายภาษีอากร Dr. ลูกหนี้ 200 Cr. หนี้สูญได้รับคืน 200 ตามบัญชี Dr. ลูกหนี้ 200 Cr. ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ 200 Dr. เงินสด 200 Cr. ลูกหนี้ 200 04/04/60

Cr. ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ 2,000 (500,000 X 2% = 10,000 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2546 ตามกฎหมายภาษีอากร Dr. หนี้สงสัยจะสูญ 2,000 Cr. ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ 2,000 (500,000 X 2% = 10,000 10,000 – 8,000 = 2,000) 04/04/60

Cr. ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ 1,800 (500,000 X 2% = 10,000 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2546 ตามบัญชี Dr. หนี้สงสัยจะสูญ 1,800 Cr. ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ 1,800 (500,000 X 2% = 10,000 10,000 – (8,000+200) = 1,800) 04/04/60

หัก ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ 10,000 490,000 งบดุล ณ 31 ธันวาคม 2547 ลูกหนี้ 500,000 หัก ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ 10,000 490,000 04/04/60

งบกำไรขาดทุน สำหรับปีสิ้นสุด 31 ธันวาคม 2547 ตามกฎหมายภาษีอากร ตามบัญชี รายได้อื่น หนี้สูญได้รับคืน 200 ค่าใช้จ่าย ค่าใช้จ่าย หนี้สงสัยจะสูญ 2,000 หนี้สงสัยจะสูญ 1,800 04/04/60

ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญเกินความต้องการ ณ สิ้นปี 2546 ลูกหนี้ 600,000 บาท ณ สิ้นปี 2547 ลูกหนี้ 400,000 บาท ประมาณหนี้สงสัยจะสูญ 5 %ของลูกหนี้สิ้นปี 04/04/60

Cr. ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ 30,000 (600,000 X 5% = 30,000) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2546 Dr. หนี้สงสัยจะสูญ 30,000 Cr. ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ 30,000 (600,000 X 5% = 30,000) 04/04/60

Dr. ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ 10,000 Cr. หนี้สงสัยจะสูญ 10,000 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2547 Dr. ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ 10,000 Cr. หนี้สงสัยจะสูญ 10,000 (400,000 X 5% = 20,000 20,000 – 30,000 = -10,000 ) 04/04/60

สำหรับปีสิ้นสุด 31 ธันวาคม 2546 และ 2547 งบกำไรขาดทุน สำหรับปีสิ้นสุด 31 ธันวาคม 2546 และ 2547 2547 2546 ค่าใช้จ่าย วัสดุสำนักงาน 5,000 6,000 หนี้สงสัยจะสูญ (10,000) 30,000 04/04/60

Q & A 04/04/60