แนะนำวิทยากร.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การสร้างห้องเรียนคุณภาพ
Advertisements

พิชิตโครงงานวิทยาศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
(Classroom Action Research)
ส่วนประกอบตอนต้น ปก ชื่อเรื่องวิจัย ชื่อผู้วิจัย โรงเรียน ชื่อโครงการ เดือน ปี ที่วิจัยเสร็จ คำนำ ส่วนประกอบ ที่มาของรายงาน วัตถุประสงค์ของรายงาน วิจัย.
วิชาหัวข้อเรื่องที่ทันสมัยทางวิทยาการคอมพิวเตอร์ 6 มกราคม 2555
การวิจัยในชั้นเรียน Classroom Research
การเขียนผลงานวิชาการ
การเสนอโครงการวิทยานิพนธ์
ความสำคัญของงานวิจัย เสนอ รศ.ดร.เผชิญ กิจระการ
ขั้นตอนในการทำวิจัย.
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
รายงานการวิจัย.
Research Problem ปัญหาการวิจัย
การวิจัยแบบกรณีศึกษา (Case Study Research) อ.สมพงษ์ พันธุรัตน์
การวิจัย RESEARCH.
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
การทดลองและการเขียนรายงานผลการทดลองทางวิทยาศาสตร์
Thesis รุ่น 1.
การศึกษารายกรณี.
งานนำเสนอแฟ้มสะสมผลงาน
ภาพรวมของแนวคิดโครงงาน
ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2544
หลักการพัฒนา หลักสูตร
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
การวางแผนและการดำเนินงาน
แหล่งการเรียนรู้และเครือข่ายนวัตกรรม และกระบวนการทางนวัตกรรม
Research & Development รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์ มสธ.
การติดตาม และประเมินโครงการ.
: หัวข้อและความสำคัญของปัญหา
: หัวข้อและประเด็นปัญหา
การออกแบบการจัดการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับหลักสูตร และบริบทของสถานศึกษา
รศ. ดร. สุนีย์ เหมะประสิทธิ์
การกำหนดปัญหาการวิจัย (Determining of Research Problem)
การเสริมประสิทธิภาพการวัด และประเมินผลในชั้นเรียน
โครงร่างการวิจัย (Research Proposal)
แนวคิดในการวิเคราะห์ผู้เรียนที่นิยม 5 แนวคิด
การวิเคราะห์ผู้เรียน
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
การวิจัยกับพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542
การเขียนรายงานการวิจัย
การวิจัยในชั้นเรียนด้านอาชีวศึกษา
การพัฒนาระบบการเรียนการสอน
การเขียนรายงานการวิจัย
ปัญหาการวิจัย โดย ดร.วรรณะ บรรจง.
มาตรฐานการวัด การประเมินและ การประกันคุณภาพภายใน
การเขียนรายงานการวิจัย
สวัสดี ครับ เพื่อนพี่น้องผู้ทรงคุณวุฒิทุกท่าน.
ใส่ชื่อเรื่องงานวิจัย กะทัดรัด มีตัวแปรต้น ตัวแปรตาม อย่างชัดเจน
การเขียนข้อเสนอโครงการ
14. การเขียนโครงร่างการวิจัย (แบบ ว -๑) (Proposal)
การประเมินนวัตกรรม Dr.Kulthida Nugultham.
การพัฒนานวัตกรรมการศึกษา
เทคนิคการรวบรวมข้อมูล
การวางเค้าโครงการวิจัยในชั้นเรียน
รศ. ดร. นิตยา เจรียงประเสริฐ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
การเขียนรายงานเพื่อนำเสนอโครงงานวิทยาศาสตร์
แนวทางการสอนเพื่อพัฒนาทักษะเด็กตามรูปแบบ การสอนแบบโครงงาน/โครงการ
สารานุกรมการศึกษา (The Encyclopedia of Education) ให้ความหมายไว้ว่า คือ “การจัดการสืบค้นอย่างมีระบบเกี่ยวกับการศึกษาและผลผลิตที่ได้รับจากการศึกษา”
หลักการเขียนโครงการ.
การสอนโดยการแบ่งกลุ่มทำกิจกรรม
การสอนแบบโครงงาน ขจิต ฝอยทอง คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์
ลักษณะโครงการวิจัยที่ดี
ผู้วิจัย อาจารย์ธนพร ผ่อนวัฒนา
การวิจัยการสื่อสารการตลาด (AMC2202)
3. หลักการวิจัย หลักการวิจัย : สำราญ สาราบรรณ์.
บทที่ 5 การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
CIPP Model : การประกันคุณภาพ
แนวทางพัฒนางานประจำ สู่งานวิจัย
ตัวอย่าง การเขียนโครงการ
เทคนิควิธีในการจัดการเรียนการสอน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แนะนำวิทยากร

คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน การวิจัยในชั้นเรียน อาจารย์ขจิต ฝอยทองและทีมวิทยากรกระบวนการ คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน

การวิจัยในชั้นเรียนคืออะไร การพัฒนาการเรียนการสอนของผู้ทำวิจัยเองเน้นการการพัฒนางานของตนเองไม่ได้เน้นการสร้างองค์ความรู้ใหม่ “ Action research is about improving practice rather than producing knowledge” (Elliott,1991)

ใครเป็นผู้ทำวิจัยในชั้นเรียน?

การทำวิจัยในชั้นเรียนต่างจากการวิจัยโดยทั่วๆไปอย่างไร

การตั้งปัญหาวิจัย - ไม่ควรเสียเวลาขบคิดปัญหาที่ไม่สามารถดำเนินการแก้ไขได้ในระยะเวลาอันสั้น เช่น การเปลี่ยนแปลงระบบงานทั้งหมดของโรงเรียน เป็นต้น - ควรเลือกเรื่องที่มีขนาดเล็ก ทั้งนี้เพราะว่าสามารถดำเนินการได้ในระยะเวลาอันสั้น ซึ่งจะทำให้มีกำลังใจในการทำวิจัยในครั้งต่อไปและสามารถประมาณระยะเวลาในการทำวิจัยในชั้นเรียนได้ - ควรเลือกเรื่องที่มีประโยชน์แก่นักเรียน นักศึกษา ตนเองและบุคคลที่เกี่ยวข้องในงานของโรงเรียน เป็นงานที่ต้องการจะทำจริงๆ มิฉะนั้นเมื่อพบกับปัญหาเข้าจริงๆแล้วจะทำให้แรงจูงใจในการทำวิจัยในชั้นเรียนของครูผู้ทำวิจัยหมดไปด้วย

(ศ. ดร. สุวิมล ว่องวาณิช) ก่อนตั้งโจทย์ปัญหาวิจัยต้องเข้าใจและรู้จักนักเรียนก่อน ศึกษาภูมิหลังทางครอบครัว บุคลิกภาพ สุขภาพ ความสนใจของนักเรียน ความถนัด ลักษณะนิสัย นิสัยทางการเรียน ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิธีเรียนที่นักเรียนชอบ ฯลฯ (ศ. ดร. สุวิมล ว่องวาณิช)

ลักษณะของโจทย์ปัญหาวิจัยที่ดี สอดคล้องกับสภาพปัญหาที่เกิดขึ้น จำเป็น ชัดเจนดี มีคุณค่า เป็นปัจจุบัน อยู่ในวิสัยจะทำได้สำเร็จ

หลักการตั้งโจทย์วิจัย อย่าตั้งโจทย์วิจัยที่เน้นแต่สภาพปัญหา อย่าตั้งโจทย์วิจัยเพื่อตรวจสอบว่าปัญหานั้นเป็นจริงหรือไม่ ตั้งโจทย์วิจัยที่มีความลึกซึ้งมากเกินไป โจทย์วิจัยมีความเฉพาะเจาะจง

เทคนิคการกำหนดโจทย์วิจัย หมั่นสังเกตปัญหาที่เกิดขึ้นกับนักเรียน นักศึกษา การทำงานของตนเอง ฝึกตั้งข้อสงสัย ตั้งคำถามตนเอง สืบค้นว่ามีใครศึกษาในประเด็นวิจัยนั้นหรือไม่ และได้ข้อค้นพบอะไร กำหนดโจทย์วิจัย และตรวจสอบกับเพื่อน

การตั้งชื่อเรื่องงานวิจัยในชั้นเรียน -ชัดเจน -หัวข้อสะท้อนว่าเป็นการวิจัยปฏิบัติการ (การวิจัย การพัฒนา การสร้าง) -ระบุนวัตกรรมที่พัฒนา (เช่น วิธีการที่ใช้ แนวคิด ลักษณะของสิ่งประดิษฐ์) -ระบุที่ทำวิจัย (กลุ่มตัวอย่าง ระดับชั้น สถานที่) -ระบุตัวแปรผล (ตัวแปรตาม) ที่ต้องการให้เกิดกับผู้เรียน -หัวข้อเรื่องวิจัยในชั้นเรียนไม่ควรเป็นเรื่องที่เป็นการวิจัยเชิงสำรวจสภาพปัญหาเนื่องจากไม่ใช่การวิจัยปฏิบัติการ

จุดประสงค์การวิจัย ให้เขียนโดยระบุคำกริยาที่แสดงจุดมุ่งหมายของการวิจัยเพื่อให้ได้คำตอบที่ต้องการ ไม่ควรเขียนสิ่งที่คาดว่าจะได้รับจากการวิจัย หรือประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ ควรระบุสิ่งที่เป็นนวัตกรรมที่ผู้วิจัยพัฒนาขึ้น และการประเมินความสำเร็จ ตัวอย่าง เพื่อพัฒนาสื่อ ....... เพื่อส่งเสริมความรู้ความเข้าใจเรื่อง ......... เพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนที่เรียนจากสื่อ .................

ประชากร กลุ่มตัวอย่าง ตัวแปร ประชากร กลุ่มตัวอย่าง ตัวแปร

กลุ่มตัวอย่าง กลุ่มตัวอย่างคือใคร ขนาดเท่าใด เป็นกลุ่ม หรือกรณีศึกษา เรียนอยู่ในชั้นใด นักเรียนมีปัญหาอะไร รู้ได้อย่างไร ข้อมูลมาจากไหน สภาพก่อนการทดลองเป็นอย่างไร รู้ได้อย่างไร ใช้วิธีการวัดแบบใด มีการเตรียมนักเรียนก่อน ระหว่างการทดลองใช้นวัตกรรมอะไรบ้าง

ตัวแปรต้น ตัวแปรตาม

นวัตกรรม การสอนแบบบูรณาการ การสอนโดยใช้วิจัยเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการเรียนรู้ การสอนแบบโครงงาน การสอนโดยใช้ CAI การสอนโดยใช้แหล่งเรียนรู้

การพัฒนานวัตกรรม ระบุแนวคิดสำคัญที่ใช้ในการออกแบบนวัตกรรม อธิบายเหตุผลสนับสนุน ถ้ามี ที่ทำให้ท่านมีความคิดที่จะออกแบบนวัตกรรมแบบนั้น อธิบายว่านวัตกรรมที่พัฒนาขึ้นมีลักษณะอย่างไร ทำเพื่อพัฒนาอะไร กับใคร ทำอย่างไร ต้องใช้เวลานานเท่าใดในการใช้นวัตกรรมนั้น ผู้เกี่ยวข้องมีความคิดเห็นอย่างไรต่อนวัตกรรมที่ท่านออกแบบ มีการนำข้อคิดเห็นเหล่านั้นมาปรับปรุงต้นร่างของนวัตกรรมอย่างไร การใช้นวัตกรรมดังกล่าวต้องมีการเตรียมการในเรื่องอะไรบ้าง เงื่อนไขอะไรบ้างที่ต้องเตรียม เพื่อให้ใช้นวัตกรรมได้สำเร็จ

ระเบียบวิธีการวิจัย Pre-test /Post test O X O

งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

การวิเคราะห์ข้อมูลและการแปลความหมาย ศึกษาลักษณะหรือธรรมชาติของข้อมูล กำหนดวิธีวิเคราะห์ข้อมูล ใช้เชิงคุณภาพหรือเชิงปริมาณ วิเคราะห์ข้อมูล นำเสนอผล เลือกรูปแบบการนำเสนอ เป็นความเรียง ตาราง กราฟ แผนภูมิ แปลความหมายผลการวิเคราะห์ข้อมูล

สรุปและการอภิปรายผล ชัดเจน สอดคล้องกับจุดประสงค์การวิจัย มีหลักฐาน เอกสาร งานวิจัย ที่สอดคล้อง

การเผยแพร่ผลงานวิจัย ทำไมต้องเผยแพร่

แนะนำ websites และแหล่งที่เผยแพร่ผลงานวิจัย http://gotoknow.org http://researchers.in.th http:// thaiedresearch.org สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา(สกศ) Website ของมหาวิทยาลัยต่างๆๆ เช่น www.ku.ac.th www.swu.ac.th www.sut.ac.th

วารสารเผยแพร่ผลงานวิจัย แหล่งเผยแพร่ผลงานวิจัย วารสารวิชาการกระทรวงศึกษาธิการที่ บรรณาธิการวารสารวิชาการ ถนนราชดำเนินนอก เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร 10300 วารสารวิจัย วารสารวิจัยของมหาวิทยาลัยต่างๆ ฯลฯ

สวัสดี