นางพัชราภรณ์ หงษ์สิบสอง และผู้ช่วยศาสตราจารย์นันทา เติมสมบัติถาวร พฤติกรรมการค้นคว้าข้อมูลบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต กรณีศึกษา : นักศึกษามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน นางพัชราภรณ์ หงษ์สิบสอง และผู้ช่วยศาสตราจารย์นันทา เติมสมบัติถาวร
บทคัดย่อ นักศึกษา สมมุติฐานที่ตั้งไว้ จุดประสงค์การใช้อินเทอร์เน็ต ข้อมูลที่ถูกค้นคว้าทางอินเทอร์เน็ต เว็บไซต์ที่เข้าใช้บริการบ่อยที่สุด ความพึงพอใจในการเข้าใช้บริการอินเทอร์เน็ต ปัจจัยที่ไม่อยากเข้าใช้อินเทอร์เน็ต ไม่แตกต่างกันระหว่างเพศ
บทนำ
วัตถุประสงค์ 1. ศึกษาพฤติกรรมการใช้อินเทอร์เน็ตในการค้นคว้าข้อมูล 2. เป็นแนวทางในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการใช้อินเทอร์เน็ตของนักศึกษา
บั้นตอนและวิธีการดำเนินการ 1. ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นักศึกษาทุกชั้นปีรวมทั้งสิ้น 323 คน โดยวิธีการสุ่มตัวอย่างแบบโควตา (Quota Sampling)
ขั้นตอนและวิธีการดำเนินการ 2. เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถาม การสัมภาษณ์ แบบแสดงความคิดเห็น
ขั้นตอนและวิธีการดำเนินการ 3. การเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ ใช้ระยะเวลา 1 เดือน แบบสอบถาม แบบสัมภาษณ์ แบบแสดงความคิดเห็น
ขั้นตอนและวิธีการดำเนินการ 4. การจัดกระทำข้อมูล ตรวจสอบความสมบูรณ์ของแบบสอบถาม แบบสัมภาษณ์ และแบบแสดง ความคิดเห็น นำแบบสอบถามตรวจให้คะแนน นำไปหาค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และแปลความหมาย โดยใช้เกณฑ์การแปลความหมายของลิเคอร์ (Likert) นำแบบสอบถามไปทดสอบความแตกต่างตามสมมติฐานที่ตั้งไว้ เสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูลในรูปตาราง แบบสัมภาษณ์และแบบการแสดงความคิดเห็นนำไปวิเคราะห์ในขั้นตอนผลการศึกษา อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ
ขั้นตอนและวิธีการดำเนินการ 5. สถิติที่ใช้ในการวิจัย วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรม SPSS หาค่าเฉลี่ย ร้อยละ และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ทดสอบความสมมติฐาน ใช้ T-Test Independent
ขั้นตอนและวิธีการดำเนินการ 6. การหาค่าความเที่ยงตรง แบบสอบถาม 30 ฉบับ ทดสอบกับกลุ่มที่ไม่ใช่กลุ่มตัวอย่าง เพื่อหาค่าความเที่ยงตรงในเนื้อหา (Content Validity) และทดสอบความเชื่อมั่น (Reliability) หาความเชื่อมั่นแบบสัมประสิทธิ์แอลฟ่า (Alpha Coefficient) ค่าสัมประสิทธิ์แอลฟ่า 0.7022
สรุปผล และข้อเสนอแนะ นักศึกษาชาย นักศึกษาหญิง
สรุปผล และข้อเสนอแนะ 2. ข้อมูลด้านการศึกษา และข้อมูลด้านบันเทิง นักศึกษาชาย นักศึกษาหญิง
สรุปผล และข้อเสนอแนะ 3.
สรุปผล และข้อเสนอแนะ 4.
สรุปผล และข้อเสนอแนะ 5.
ประโยชน์ และคุณค่าต่อการนำไปปรับใช้ในงานห้องสมุด 1. นำข้อมูลที่ได้รับไปบูรณาการการเรียนการสอน ในรายวิชาสารสนเทศเพื่อการเขียนรายงาน, การเขียนรายงานและการใช้ห้องสมุด, การค้นคืนสารสนเทศ 2.นำผลการวิจัยจัดทำโครงการฝึกอบรมการใช้งานระบบสารสนเทศแก่นักศึกษา
ประโยชน์ และคุณค่าต่อการนำไปปรับใช้ในงานห้องสมุด 3.แนะนำเว็บไซต์ที่มีประโยชน์ต่อการเรียนการสอน เช่นฐานข้อมูลออนไลน์ต่างๆ
คำถาม พร้อมข้อเสนอแนะเพื่อจัดทำข้อเสนอในงานวิจัยครั้งต่อไปคะ จบการนำเสนอ คำถาม พร้อมข้อเสนอแนะเพื่อจัดทำข้อเสนอในงานวิจัยครั้งต่อไปคะ