คนึงนิตย์ หีบแก้ว ธันยกานต์ สินปรุ พุทธชาติ เรืองศิริ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การกำหนดโครงการ ตัวชี้วัด และค่าเป้าหมาย เพื่อบรรจุในแผนปฏิบัติราชการปี 2554 มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี วันพฤหัสบดีที่ 5 สิงหาคม 2553 ห้องประชุมวารินชำราบ.
Advertisements

การเสนอโครงการวิทยานิพนธ์
พัชราภรณ์ ปันแก้ว นันทา เติมสมบัติถาวร มินตรา ไชยชนะ
KM Learning Power ครั้งที่ 1
รายงาน ผลการประเมินคุณภาพ ประจำปี 2552 ภาควิชาพัฒนาการเกษตร คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.
กลุ่มบริการเทคนิค มีภารกิจหลัก 4 ภารกิจ
โดย คณะกรรมการประเมินคุณภาพภายนอก
การจัดการบริการสารสนเทศ
บริการตอบคำถามและช่วยการค้นคว้า มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
การใช้ฐานข้อมูลออนไลน์ของอาจารย์และนักศึกษามหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง
“ลูกค้าสัมพันธ์” ก้าวใหม่ในการบริการห้องสมุด
โต้วาทีน้องใหม่ ชิงโล่อธิการบดี
“ปรัชญา วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าประสงค์ และการประกันคุณภาพการศึกษา” คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร 31 พฤษภาคม 2552.
นางพัชราภรณ์ หงษ์สิบสอง และผู้ช่วยศาสตราจารย์นันทา เติมสมบัติถาวร
การพัฒนาตัวชี้วัดสุขภาพผู้สูงอายุ: กรณีศึกษาจังหวัดลำพูน Development of Elderly Health Indicators in Thailand.
( สมุทรสงคราม สมุทรสาคร เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์ )
รายงานผลทางวาจา การประเมินคุณภาพการศึกษาภายในระดับสถาบัน มหาวิทยาลัยพายัพ วันที่ 5-7 กันยายน 2551.
ภาพรวมแผนผังเชิงกลยุทธ์ (Strategy Map)
ชี้แจงการประเมินผลการปฏิบัติงาน
แผน 4 ปี ( ) ด้านนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ
นโยบายด้านการบริการวิชาการ
ชุมชน สังคม ภาคใต้บน ชาติ นานาชาติ
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
การทำ Social Mapping เพื่อหาข้อตกลง
“ทำงานประจำให้เป็นงานวิจัย R to R”
ความคิดเห็นของข้าราชการเกี่ยวกับ สวัสดิการการรักษาพยาบาล พ.ศ. 2546
สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
การสำรวจความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ
สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สรุปผลการสำรวจ ความต้องการของประชาชนเกี่ยวกับ
ฝ สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชน / ผู้ประกอบการ
1 การสัมมนาผู้ตรวจ ประเมินคุณภาพภายใน ปีการศึกษา 2552 วันพฤหัสบดีที่ 21 ตุลาคม 2553 ณ ห้องประชุม 3222 อาคารสิริคุณากร.
การรายงานผลการจัดการศึกษา เพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษา
นางสาวธันยกานต์ สินปรุ
Eng ศึกษาความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการขันติ โสรัจจะ รุ่นที่ 1 ปีการศึกษา วัตถุประสงค์การวิจัย ระเบียบวิธีวิจัย ผลการวิจัย ผู้วิจัยต้องการศึกษา.
แนวทางการประเมินผลงาน ทางวิชาการ
คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ วันที่ มิถุนายน คะแนน ระดับดีมาก.
การบรรยายเรื่องการประกันคุณภาพการศึกษา สำหรับนักศึกษาคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 13 มิถุนายน 2547.
แนวคิดในการทำวิจัย.
ความรู้สู่การประชาสัมพันธ์งาน ด้านการศึกษา คณะวารสารศาสตร์และ สื่อสารมวลชน Knowledge Management.
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานนทบุรี เขต 1
ขั้นตอนการจัดนักศึกษาเข้าสังกัดสาขาวิชา
ความคิดเห็นที่มีต่อการ ประเมินผลการปฏิบัติงานของ บุคลากรวิทยาลัยเทคโนโลยี ฐานเทคโนโลยี บรรยวัสถ์ สินทรัพย์
เพศจำนวน ร้อย ละ ชาย หญิง รวม
แผนการดำเนินงาน 2558 กองบริการเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ชื่อผู้วิจัย: นางสาวเมธิกา ชาพิมล
นางสาว ธันยพัต ภักดี วิทยาลัยอาชีวศึกษาพณิชยการจรัลสนิทวงศ์

การใช้โปรแกรม GSP พัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
ชื่อผลงานวิจัย ความพึงพอใจของครูผู้สอน ต่อการบริหารสถานศึกษาของวิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ นนทบุรี ชื่อผู้วิจัย นางกุสุมา หาญกล้า.
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
การจัดกิจกรรมเสริมหลักสูตร เพื่อพัฒนาความพร้อมในวิชาชีพ
การศึกษาองค์ประกอบการตัดสินใจของผู้ปกครองในการส่งบุตรหลานเข้าศึกษาต่อใน วิทยาลัยเทคโนโลยีอรรถวิทย์พณิชยการ นางสาวธัญศญา ธรรมิสกุล วิทยาลัยเทคโนโลยีอรรถวิทย์พณิชยการ.
อาจารย์แผนกช่างก่อสร้าง วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
การเขียนรายงานผลการวิจัย
รายละเอียด ระดับความพึงพอใจ มาก ที่สุด (5) มาก (4) ปาน กลาง (3) น้อย (2) น้อย ที่สุด (1) ค่าเฉลี่ ย 1. ผู้เรียนชอบทำงานร่วมกับเพื่อ เมื่อเรียนวิชาระบบเครือข่าย.
ชื่อเรื่อง การพัฒนาทักษะการอ่านจับ ใจความภาษาอังกฤษโดยใช้ชุดแบบฝึก เสริมทักษะของนักเรียนระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1/1.
ชื่อเรื่อง การพัฒนาทักษะ การอ่าน

นายอนุพงศ์ อินทนิด วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครูภาคเหนือ จังหวัดลำพูน
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
ความผูกพันต่อองค์การของบุคลากรทางการศึกษาวิทยาลัยเทคโนโลยีฐานเทคโนโลยี
ชื่อเรื่อง ศึกษาผลสัมฤทธิ์การจัดการเรียนรู้โดยใช้แบบฝึกทักษะ การเขียน เรื่องชนิดของคำ วิชาภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1.
การนำเสนอผลงานวิจัย ชื่อเรื่อง : สมรรถนะที่เป็นจริงของผู้สำเร็จการศึกษาระดับ ปวส. แผนก การบัญชี ตามความคิดเห็นของหัวหน้าแผนกบัญชี ในเขตพื้นที่
“ การแลกเปลี่ยน บุคลากร ” ทางเลือกของการจัดการความรู้ใน สถานศึกษาเอกชนประเภทอาชีวศึกษา กรณีศึกษา : วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครูกับ วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรีบริหารธุรกิจ.
นางดวงพร อินทจักร วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครูภาคเหนือ จ.ลำพูน
ความพึงพอใจต่อการมาใช้บริการห้องสมุด
นางสาวเกสรา ฉายารัตน์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

คนึงนิตย์ หีบแก้ว ธันยกานต์ สินปรุ พุทธชาติ เรืองศิริ ความคิดเห็นของผู้ใช้บริการที่มีต่อภาพลักษณ์ ศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี คนึงนิตย์ หีบแก้ว ธันยกานต์ สินปรุ พุทธชาติ เรืองศิริ

ภาพลักษณ์ดี > ความเชื่อถือ > อยากเข้าใช้บริการ > บุคลากรมีความภูมิใจตั้งใจทำงาน > มีการบริการที่ดีมีคุณภาพแก่ผู้ใช้บริการ

ภาพลักษณ์ + ลักษณะเฉพาะที่โดดเด่น สร้างความรู้สึก, ความแตกต่าง, คุณค่าทางจิตใจ จง ภักดี SWOT จุดเด่น R Brand

วัตถุประสงค์ 1. ภาพลักษณ์ 9 ด้าน (ทรัพยากรสารสนเทศ การบริการห้องสมุด บริการสื่อการศึกษา บุคลากร สถานที่ การสื่อสาร เครื่องมือหรืออุปกรณ์ เทคโนโลยี และการมีส่วนร่วมกับชุมชนและสังคมภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย) 2. ลักษณะเฉพาะที่โดดเด่น

ขั้นตอน และวิธีการดำเนินการ แบบสอบถาม 385 ชุด 1. ปริญญาตรี 2. บัณฑิตศึกษา 1. ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม 3. บุคลากรสายวิชาการ 2. ภาพลักษณ์ 4. บุคลากรสายปฏิบัติการวิชาชีพ 3. ลักษณะเฉพาะที่โดดเด่น 4. ข้อเสนอแนะอื่นๆ เคยเข้ามาใช้บริการ 5 ครั้งขึ้นไปและ เข้ามาใช้บริการขณะทำการวิจัย

โปรแกรม SPSS ค่าเฉลี่ย ร้อยละ ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน วิเคราะห์ข้อมูล โปรแกรม SPSS ค่าเฉลี่ย ร้อยละ ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน

ผลการศึกษา ตอนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม เพศหญิงมากที่สุด จำนวน 184 คน (ร้อยละ 55.40) เพศชาย จำนวน 148 คน (ร้อยละ 44.60) อายุต่ำกว่า 25 ปี ตอบแบบสอบถามมากที่สุด จำนวน 249 คน (ร้อยละ 74.60) อายุ 26-30 ปี จำนวน 32 คน (ร้อยละ 9.60) และอายุ 41-50 ปี จำนวน 24 คน (ร้อยละ 7.20) นักศึกษาระดับปริญญาตรีตอบแบบสอบถามมากที่สุด จำนวน 229 คน (ร้อยละ 68.60) บัณฑิตศึกษา จำนวน 58 คน (ร้อยละ 17.40) และบุคลากรสายปฏิบัติการวิชาชีพ จำนวน 32 คน (ร้อยละ 9.60) สำนักวิชาวิศวกรรมศาสตร์ตอบแบบสอบถามมากที่สุด จำนวน 171 คน (ร้อยละ 51.70) สำนักวิชาแพทยศาสตร์ จำนวน 43 คน (ร้อยละ 13.00) และสำนักวิชาเทคโนโลยีการเกษตร จำนวน 41 คน (ร้อยละ 12.40)

ตอนที่ 2 ความคิดเห็นที่มีต่อภาพลักษณ์ ทั้งหมด 9 ด้าน ระดับดี ( 𝒙 = 4.41, SD = 0.71) ด้าน : 1. เทคโนโลยี ( 𝒙 = 4.56, SD = 0.65) ระดับดีมาก 2. สถานที่ ( 𝒙 = 4.53, SD = 0.67) ระดับดีมาก 3. การบริการห้องสมุด ( 𝒙 = 4.45, SD = 0.69) ระดับดี ประเด็น: 1. ออกแบบและตกแต่งอาคารทันสมัย สวยงาม และสะอาด ( 𝒙 = 4.68, SD = 0.57) ระดับดีมาก 2. ระบบห้องสมุดอัตโนมัติที่ทันสมัย ( 𝒙 = 4.59, SD = 0.61) ระดับดีมาก 3. ทรัพยากรสารสนเทศหลากหลายประเภท ( 𝒙 = 4.59, SD = 0.62) ระดับดีมาก

ตอนที่ 3 ความคิดเห็นต่อลักษณะเฉพาะที่โดดเด่น จดจำ ชื่อเต็ม เว็บไซต์ โลโก้ คำขวัญ สี ถูกต้อง ลักษณะเฉพาะที่โดดเด่น สถานที่ ประโยชน์ และเหตุผล ที่จะมาใช้บริการในปัจจุบันและอนาคต ทรัพยากรสารสนเทศ

ตอนที่ 4 ข้อเสนอแนะ 1. สถานที่: พื้นที่หรือห้องอ่านหนังสือ โดยเฉพาะช่วงก่อนและระหว่างการสอบ 2. อุณหภูมิระบบปรับอากาศ: ไม่เท่ากัน 3. เทคโนโลยี: ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์และระบบ Wifi ช้า

ภาพลักษณ์ ลักษณะเฉพาะ ที่โดดเด่น องค์การตื่นรู้

ข้อเสนอแนะ 1. บูรณาการการทำงานฝ่ายที่เกี่ยวข้องกับทรัพยากรสารสนเทศ + ความต้องการของผู้ใช้บริการ นำเสนอ Image ให้ครอบคลุมทุกประเด็นและชัดเจน 2. การสื่อสาร ทิศทางเดียวกัน + รายไตรมาส 3. ศูนย์กลางการสื่อสาร “นวัตกรรมทรัพยากรสารสนเทศ” (ศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษา + ผู้ใช้บริการ + ทรัพยากรสารสนเทศ) 4. บุคลากร ถ่ายทอดความคิด + บุคลิกภาพศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษา 5. กิจกรรมหลัก 1 กิจกรรม สอดคล้องกับลักษณะเฉพาะที่โดดเด่น ร้อยละ 80 : การมีส่วนร่วม ร้อยละ 20

6. ประชุม/แถลงข่าว ด้านทรัพยากรสารสนเทศหรือการบริการ 7 6. ประชุม/แถลงข่าว ด้านทรัพยากรสารสนเทศหรือการบริการ 7. กำหนดจุดยืน: เชี่ยวชาญด้านไหน ส่วนทรัพยากรสารสนเทศด้านอื่นๆ มีให้บริการตามปกติ 8. สิ่งที่เกี่ยวข้องกับลักษณะเฉพาะที่โดดเด่น เช่น - สอดคล้องกับลักษณะเฉพาะที่โดดเด่นและบุคลิกภาพ ควรเพิ่มสีแดง ฟ้า และเหลือง - คำขวัญ ใส่ประโยชน์หลักของทรัพยากรสารสนเทศ + ลักษณเฉพาะที่โดดเด่น) ชัดเจน จดจำง่าย 9. วิเคราะห์หาคุณค่าด้านความรู้สึกจากผู้ใช้บริการในอนาคต (ลักษณะเฉพาะที่โดดเด่น + วิสัยทัศน์) แบรนด์โมเดล

Q & A