คนึงนิตย์ หีบแก้ว ธันยกานต์ สินปรุ พุทธชาติ เรืองศิริ ความคิดเห็นของผู้ใช้บริการที่มีต่อภาพลักษณ์ ศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี คนึงนิตย์ หีบแก้ว ธันยกานต์ สินปรุ พุทธชาติ เรืองศิริ
ภาพลักษณ์ดี > ความเชื่อถือ > อยากเข้าใช้บริการ > บุคลากรมีความภูมิใจตั้งใจทำงาน > มีการบริการที่ดีมีคุณภาพแก่ผู้ใช้บริการ
ภาพลักษณ์ + ลักษณะเฉพาะที่โดดเด่น สร้างความรู้สึก, ความแตกต่าง, คุณค่าทางจิตใจ จง ภักดี SWOT จุดเด่น R Brand
วัตถุประสงค์ 1. ภาพลักษณ์ 9 ด้าน (ทรัพยากรสารสนเทศ การบริการห้องสมุด บริการสื่อการศึกษา บุคลากร สถานที่ การสื่อสาร เครื่องมือหรืออุปกรณ์ เทคโนโลยี และการมีส่วนร่วมกับชุมชนและสังคมภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย) 2. ลักษณะเฉพาะที่โดดเด่น
ขั้นตอน และวิธีการดำเนินการ แบบสอบถาม 385 ชุด 1. ปริญญาตรี 2. บัณฑิตศึกษา 1. ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม 3. บุคลากรสายวิชาการ 2. ภาพลักษณ์ 4. บุคลากรสายปฏิบัติการวิชาชีพ 3. ลักษณะเฉพาะที่โดดเด่น 4. ข้อเสนอแนะอื่นๆ เคยเข้ามาใช้บริการ 5 ครั้งขึ้นไปและ เข้ามาใช้บริการขณะทำการวิจัย
โปรแกรม SPSS ค่าเฉลี่ย ร้อยละ ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน วิเคราะห์ข้อมูล โปรแกรม SPSS ค่าเฉลี่ย ร้อยละ ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน
ผลการศึกษา ตอนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม เพศหญิงมากที่สุด จำนวน 184 คน (ร้อยละ 55.40) เพศชาย จำนวน 148 คน (ร้อยละ 44.60) อายุต่ำกว่า 25 ปี ตอบแบบสอบถามมากที่สุด จำนวน 249 คน (ร้อยละ 74.60) อายุ 26-30 ปี จำนวน 32 คน (ร้อยละ 9.60) และอายุ 41-50 ปี จำนวน 24 คน (ร้อยละ 7.20) นักศึกษาระดับปริญญาตรีตอบแบบสอบถามมากที่สุด จำนวน 229 คน (ร้อยละ 68.60) บัณฑิตศึกษา จำนวน 58 คน (ร้อยละ 17.40) และบุคลากรสายปฏิบัติการวิชาชีพ จำนวน 32 คน (ร้อยละ 9.60) สำนักวิชาวิศวกรรมศาสตร์ตอบแบบสอบถามมากที่สุด จำนวน 171 คน (ร้อยละ 51.70) สำนักวิชาแพทยศาสตร์ จำนวน 43 คน (ร้อยละ 13.00) และสำนักวิชาเทคโนโลยีการเกษตร จำนวน 41 คน (ร้อยละ 12.40)
ตอนที่ 2 ความคิดเห็นที่มีต่อภาพลักษณ์ ทั้งหมด 9 ด้าน ระดับดี ( 𝒙 = 4.41, SD = 0.71) ด้าน : 1. เทคโนโลยี ( 𝒙 = 4.56, SD = 0.65) ระดับดีมาก 2. สถานที่ ( 𝒙 = 4.53, SD = 0.67) ระดับดีมาก 3. การบริการห้องสมุด ( 𝒙 = 4.45, SD = 0.69) ระดับดี ประเด็น: 1. ออกแบบและตกแต่งอาคารทันสมัย สวยงาม และสะอาด ( 𝒙 = 4.68, SD = 0.57) ระดับดีมาก 2. ระบบห้องสมุดอัตโนมัติที่ทันสมัย ( 𝒙 = 4.59, SD = 0.61) ระดับดีมาก 3. ทรัพยากรสารสนเทศหลากหลายประเภท ( 𝒙 = 4.59, SD = 0.62) ระดับดีมาก
ตอนที่ 3 ความคิดเห็นต่อลักษณะเฉพาะที่โดดเด่น จดจำ ชื่อเต็ม เว็บไซต์ โลโก้ คำขวัญ สี ถูกต้อง ลักษณะเฉพาะที่โดดเด่น สถานที่ ประโยชน์ และเหตุผล ที่จะมาใช้บริการในปัจจุบันและอนาคต ทรัพยากรสารสนเทศ
ตอนที่ 4 ข้อเสนอแนะ 1. สถานที่: พื้นที่หรือห้องอ่านหนังสือ โดยเฉพาะช่วงก่อนและระหว่างการสอบ 2. อุณหภูมิระบบปรับอากาศ: ไม่เท่ากัน 3. เทคโนโลยี: ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์และระบบ Wifi ช้า
ภาพลักษณ์ ลักษณะเฉพาะ ที่โดดเด่น องค์การตื่นรู้
ข้อเสนอแนะ 1. บูรณาการการทำงานฝ่ายที่เกี่ยวข้องกับทรัพยากรสารสนเทศ + ความต้องการของผู้ใช้บริการ นำเสนอ Image ให้ครอบคลุมทุกประเด็นและชัดเจน 2. การสื่อสาร ทิศทางเดียวกัน + รายไตรมาส 3. ศูนย์กลางการสื่อสาร “นวัตกรรมทรัพยากรสารสนเทศ” (ศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษา + ผู้ใช้บริการ + ทรัพยากรสารสนเทศ) 4. บุคลากร ถ่ายทอดความคิด + บุคลิกภาพศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษา 5. กิจกรรมหลัก 1 กิจกรรม สอดคล้องกับลักษณะเฉพาะที่โดดเด่น ร้อยละ 80 : การมีส่วนร่วม ร้อยละ 20
6. ประชุม/แถลงข่าว ด้านทรัพยากรสารสนเทศหรือการบริการ 7 6. ประชุม/แถลงข่าว ด้านทรัพยากรสารสนเทศหรือการบริการ 7. กำหนดจุดยืน: เชี่ยวชาญด้านไหน ส่วนทรัพยากรสารสนเทศด้านอื่นๆ มีให้บริการตามปกติ 8. สิ่งที่เกี่ยวข้องกับลักษณะเฉพาะที่โดดเด่น เช่น - สอดคล้องกับลักษณะเฉพาะที่โดดเด่นและบุคลิกภาพ ควรเพิ่มสีแดง ฟ้า และเหลือง - คำขวัญ ใส่ประโยชน์หลักของทรัพยากรสารสนเทศ + ลักษณเฉพาะที่โดดเด่น) ชัดเจน จดจำง่าย 9. วิเคราะห์หาคุณค่าด้านความรู้สึกจากผู้ใช้บริการในอนาคต (ลักษณะเฉพาะที่โดดเด่น + วิสัยทัศน์) แบรนด์โมเดล
Q & A