ทัศนคติและพฤติกรรมการเที่ยวกลางคืน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โครงงาน เรื่อง การมีเพศสัมพันธ์ก่อนอันสมควร
Advertisements

พญ.มณฑา ไชยะวัฒน ศูนย์อนามัยที่4 ราชบุรี
หอผู้ป่วยจิตเวช 2 ยินดีนำเสนอ.
ตามนโยบายสถานศึกษา 3 ดี
การเฝ้าระวังนักเรียน นักศึกษา ในระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
องค์การบริหารส่วนตำบลบ้านบึง
แผนภูมิที่ 1 เปรียบเทียบความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับปัญหาทางสังคม
"กิจกรรมพัฒนานักศึกษาเพื่อลด ละ เลิก อบายมุข"
ด.ญ.กุลจิรา ยอดมณี เลขที่ 19 ม.3/1
การศึกษารายกรณี.
ด.ช.ประธาน โสมาสี ม.3/1 เลขที่06 เสนอ คุณครู ทัศนีย์ ไชยเจริญ
ชื่อ เด็กหญิง รัตนา ศรีรัตน์ ชั้นม.3/2 เลขที่4
ความสำคัญของจิตสาธารณะ
หัวใจของแผน HRD หัวใจของการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
การดำเนินงานสุขศึกษา ในชุมชน
สัปดาห์ที่ 3 เรื่อง พฤติกรรมและการเปลี่ยนแปลง
ศรีเกียรติ อนันต์สวัสดิ์
ภาวะซึมเศร้าของผู้ป่วยในสูงอายุ ของรพ.พุทธชินราช
ความรู้ ทัศนคติ และพฤติกรรมการดื่มเครื่องดื่ม ที่มีแอลกอฮอล์
มนุษย์จะได้ชื่อว่าเป็นผู้ที่มีคุณภาพชีวิตที่ดีได้ ก็เพราะการรู้จักเลือกประกอบกิจกรรมนันทนาการ สรุปเนื้อหาสาระจาก นันทนาการและการจัดการ พีระพงศ์ บุญศิริ
มุ่งสู่การพัฒนาคุณภาพ ตามนโยบายสถานศึกษา 3 ดี
การวิเคราะห์ปัญหาวัยรุ่นและการช่วยเหลือ
กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
สถานีอนามัยสมอพลือ อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี.
การดำเนินงานเพื่อลดปัจจัยเสี่ยง ในเด็กวัยเรียนและเยาวชน
การส่งเสริมสุขภาพเด็กไทยวันนี้
การบริหารโดยมุ่งผลสัมฤทธิ์ Results Based Management (RBM)
ปัญหาที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงในวัยรุ่น
ความดีเด่นของสถานศึกษา
โครงการพัฒนารูปแบบการลดทัศนคติการตีตรา/รังเกียจเด็กที่ได้รับผลกระทบจากพ่อแม่ที่ติดเชื้อและเจ็บป่วยด้วยโรคเอดส์ในโรงเรียนระดับประถมศึกษา-มัธยมศึกษาปี
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
โครงการพัฒนาการบริการเด็กที่มีปัญหาพัฒนาการและออทิสติก
หมายถึง การศึกษา ทางด้านวิชาชีพในที่นี้จะพูดถึง การศึกษาด้านวิชาช่างซึ่งมีด้าน ทฤษฎีและด้านปฏิบัติ แต่จะเน้น ด้านปฏิบัติเป็นส่วนมาก.
วัยรุ่นกับปัจจัยทางสังคมที่ส่งผลต่อพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ
คลินิกผู้สูงอายุ อดีต ปัจจุบัน อนาคต
แผนหลัก สรุปทิศทาง. สสส. เปรียบเสมือน “น้ำมันหล่อลื่น” ที่ช่วยให้ ฟันเฟืองของกลไกสร้างเสริมสุขภาพทำงาน อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด.
บุหรี่และสุรา ความแตกต่างของปัจจัยเสี่ยงทางสุขภาพระหว่าง ครัวเรือนที่มีเศรษฐานะและระดับการศึกษาที่แตกต่างกัน วิชัย โชควิวัฒน สุพล ลิมวัฒนานนท์ กนิษฐา.
สื่อสุขภาพจิต สำนักงานกองทุนสนับสนุนการ สร้างเสริมสุขภาพ(สสส.)
ส่งเสริมสัญจร.
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
ความเป็นมาของกิจกรรมYC ท่ามกลางความวุ่นวายของสังคม และสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว  วัยรุ่นไทยได้รับการครอบงำจากสื่อ วัฒนธรรมจากต่างชาติ
นางรสนันท์ มานะสุข ผู้วิจัย วิทยาลัยอาชีวศึกษาพณิชยการเชียงราย
มีการอบรมป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น
เทคนิคการให้คำปรึกษาวัยรุ่น
เทคนิคและวิธีการ ปฏิบัติงาน. การวางแผน การปฏิบัติงาน การวางแผน การปฏิบัติงาน ศึกษา วิเคราะห์สภาพปัญหาและ สถานการณ์ กำหนดยุทธศาสตร์ และแผนการ ปฏิบัติงาน.
นายวิเชียร มีสม 1 วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง สิ่งเสพติดให้โทษ เรื่อง สิ่งเสพติดให้โทษ.
นางนวธัญย์พร ศรีจันทร์ พยาบาลวิชาชีพ ชำนาญการ
โครงการมหกรรมกีฬาต้านยาเสพติด อบต.น้ำผุด คัพ ครั้งที่ 10 ประจำปี 2551
องค์ประกอบที่4การจัดการสิ่งแวดล้อมในโรงเรียนที่เอื้อต่อสุขภาพ
การพัฒนางานสุขภาพจิต วัยทำงาน - สูงอายุ
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
นายวิเชียร มีสม 1 วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง สิ่งเสพติดให้โทษ เรื่อง สิ่งเสพติดให้โทษ.
การจัดการด้านสุขภาพของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สู่เมืองไทยแข็งแรง รัฐบาลได้ประกาศให้ “ เมืองไทยแข็งแรง ” โดยกำหนด เป้าหมายให้คนไทยแข็งแรงถ้วน หน้า ในปี
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43101
ณัชช์ธรณ์ หอมกลิ่นเทียน
ผลกระทบของปัญหาการมีเพศสัมพันธ์ ก่อนวัยอันควร
วิชา สุขศึกษาและพลศึกษา พ43101
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
การป้องกัน การเสริมสร้างบทบาทองค์ ความรู้แก่ผู้นำทาง ความคิดของเด็กและ เยาวชน การพัฒนาความร่วมมือ ของ ภาคีเครือข่าย การขจัดสิ่งยั่วยุและ อิทธิพลจากสื่อ.
รายงาน เรื่อง ทักษะปฏิเสธทางเพศ โดย เด็กหญิง สมัชญา ใจรักษา เลขที่ 6 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 เสนอ คุณครู ทัศนีย์ ไชยเจริญ โรงเรียนวัดพวงนิมิต สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสระแก้วเขต.
การปรับตัว ของนักเรียนระดับ ประกาศนียบัตร วิชาชีพ ชั้นปีที่ ๑ โดย นางสาวจิราพร นฤดม วิทยาลัยเทคโนโลยีเมืองชล บริหารธุรกิจ (MBAC)
ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
การปฏิบัติตัวในวัยรุ่น
การปฏิบัติตัวของวัยรุ่น
ครูวิเชียร มีสม 1 วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 สอนโดย นายวิเชียร มีสม พ หน่วยการเรียนที่ 2 เรื่อง ค่านิยมที่ดีและเหมาะสม ของเพื่อนสนิท.
นายภูวดล เพ็ญนาดี วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์
กลุ่มสาระการเรียนรู้
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ทัศนคติและพฤติกรรมการเที่ยวกลางคืน ของวัยรุ่นยุค 2000

หลักการและเหตุผล สถานบันเทิงในจังหวัดพิษณุโลกที่เพิ่มมากขึ้น ในปัจจุบัน สะท้อนให้เห็นว่า มีนักท่องเที่ยวยามราตรีมากขึ้น มีกลุ่มเยาวชนวัยรุ่นเที่ยวกลางคืนมากขึ้นซึ่งน่าจะมีผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตและสุขภาพ

ทบทวนวรรณกรรม จากบทความพาดหัวข่าวหน้า 1 ของหนังสือพิมพ์เดลินิวส์ “เปิดโปงแหล่งใหม่โบว์ลิ่งเธค มั่วเซ็กส์ ค้ายา พลิกสนามกีฬาเป็นสถานบันเทิง ดึงนิสิต นักศึกษาเป็นเป้าหมายใหญ่”

ทบทวนวรรณกรรม จากการศึกษาการลงทุนด้านสุขภาพใน เด็กและเยาวชน ของ นพ.ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย และคณะ( 2543 ) พบว่ามีการลงทุนด้านส่งเสริม สุขภาพและป้องกันโรคในกลุ่มวัยรุ่นน้อยกว่าในกลุ่มอื่นๆ

วัตถุประสงค์ เสนอภาพรวมของสภาพปัญหาการเที่ยวกลางคืนของเยาวชนวัยรุ่นในแง่ทัศนคติ พฤติกรรม สาเหตุและ ปัจจัยที่เกี่ยวข้อง ศึกษาผลที่เกิดจากการเที่ยวกลางคืนของวัยรุ่น โดยเน้นทางด้านสุขภาพ ตามคำนิยามที่ WHO ให้ไว้

วิธีการศึกษา เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยทำการสัมภาษณ์เชิงลึก กลุ่มศึกษาทั้งหมด 41 ราย - วัยรุ่นที่เที่ยวกลางคืน 16 ราย - ครูอาจารย์ฝ่ายปกครอง 5 ราย - พ่อ แม่ ผู้ปกครอง 5 ราย - เจ้าหน้าที่ตำรวจและข้าราชการที่เกี่ยวข้อง 5 ราย

ผลการศึกษา

ทัศนคติ

สนุกจัง ได้เจอเพื่อนๆ วัยรุ่นที่เที่ยวกลางคืน เที่ยวแล้ว ผลการเรียน ก็ไม่เห็นจะตกต่ำเลย สนุกจัง ได้เจอเพื่อนๆ ปลดปล่อยอารมณ์ และการกระทำ วัยรุ่นที่เที่ยวกลางคืน

มั่วสุมกัน บ่อเกิดอาชญากรรม เสพของมึนเมา ปล่อยเนื้อปล่อยตัว แต่งกายไม่ เหมาะสมกับวัย พฤติกรรมทางเพศ ที่ไม่เหมาะสม

พฤติกรรมการเที่ยวกลางคืนของ เยาวชนวัยรุ่น

ดื่มเครื่องดื่ม มึนเมา สูบบุหรี่ กอดจูบกัน เสพสารเสพติด ที่ผิดกฎหมาย ทะเลาะวิวาท มีเพศสัมพันธ์กัน แต่งกายล่อแหลม

สาเหตุและปัจจัยที่มีผลต่อ การเที่ยวกลางคืนของเยาวชน

เจ้าหน้าที่บ้านเมือง ครอบครัว สถานบันเทิง พัฒนาการและความต้องการของวัยรุ่น กฎหมาย ความเจริญก้าวหน้าของระบบเทคโนโลยีการสื่อสาร

ผลกระทบจากการเที่ยวกลางคืน

ควันบุหรี่หรือสูบเอง เมาแล้วขับ ควันบุหรี่หรือสูบเอง มีเพศสัมพันธ์ เด็กเที่ยวกลางคืน ปัญหาสุขภาพ เสียงดัง ทะเลาะวิวาท เสพสารเสพติด ดื่มเหล้า ดื่มเบียร์

สุขภาพตามคำนิยามของ WHO (1999) จิต วิญญาณ สังคม ร่างกาย จิตใจ

ผลกระทบต่อสุขภาพทางร่างกาย ปัญหาเกี่ยวกับระบบ ทางเดินหายใจ ปัญหาเกี่ยวกับ การได้ยิน ผลกระทบต่อสุขภาพทางร่างกาย การติดสารเสพติด ประสิทธิภาพใน การทำงานลดลง ร่างกายทรุดโทรม

ของตัววัยรุ่น ของครอบครัวและ บุคคลรอบข้าง ผลกระทบทางสุขภาพจิต

ผลกระทบต่อสุขภาพสังคม ขาดทรัพยากรบุคคล ที่มีคุณภาพ คดีอาชญากรรม เพิ่มมากขึ้น ผลกระทบต่อสุขภาพสังคม เกิดการคอรัปชั่น ผลกระทบต่อ เศรษฐกิจ

ขาดความยับยั้งชั่งใจ ไม่อยู่ในโอวาท ผู้ปกครอง การขาดความ ซื่อสัตย์ ผลกระทบต่อสุขภาพจิต วิญญาณ ขาดความยับยั้งชั่งใจ ในเรื่องเพศ หมกมุ่นกับ ยาเสพติด

แนวทางการแก้ไข

เจ้าหน้าที่บ้านเมือง โรงเรียน ครอบครัว ภาครัฐ ผู้ประกอบการ

อภิปรายผล เนื่องจากถูกจำกัดด้วยระยะเวลาในการศึกษาข้อมูลที่ได้อาจไม่ครอบคลุมปัญหาทั้งหมด การศึกษามุ่งเน้นไปยังเยาวชนที่มีพฤติกรรมการเที่ยวกลางคืน โดยที่ไม่ได้ศึกษาเยาวชนที่ไม่ได้เที่ยวกลางคืน อาจทำให้ข้อมูลที่ได้มี BIAS

อภิปรายผล จากการศึกษาครั้งนี้ไม่ได้มีการติดตามข้อมูลด้านอื่นๆ ของวัยรุ่นที่ได้เที่ยวกลางคืน ข้อมูลที่ได้อาจเกิด Bias จากการสัมภาษณ์มีบางกลุ่มที่ไม่ให้ความร่วมมือหรือหลีกเลี่ยงการให้ข้อมูลที่เป็นความจริง

ข้อเสนอแนะ

THE END