ACCURACY IN DIAGNOSIS ACUTE APPENDICITIS IN BUDDHACHINNARAJ HOSPITAL
หลักการและเหตุผล Acute appendicitis เป็นภาวะทางศัลยกรรมที่พบได้บ่อยในกลุ่มผู้ป่วย Acute abdomenซึ่งต้องรักษาด้วยการผ่าตัดและพบว่ามีความยากในการวินิจฉัยได้มากขึ้นเรื่อยๆ ผู้วิจัยจึงศึกษาเพื่อหาเปอร์เซ็นต์ต่างๆที่จะช่วยในการระวังไม่ให้เกิดความผิดพลาดในการวินิจฉัย รวมถึง ศึกษาความถูกต้องของประวัติและการตรวจร่างกายที่ใช้ในการวินิจฉัย
ทบทวนวรรณกรรม *Bochner H ,Et al .anamnesbischer Angaben and Klinischer Befunde fuer dic Diagnosis der akuten ทำการศึกษาแบบ Cohort study จากผู้ป่วย Acute abdomen 1254 ราย เพื่อหาความถูกต้องของอาการและอาการแสดงที่ใช้ในการวินิจฉัย Acute appendicitis พบว่าอาการและอาการแสดงที่มีระดับความเชื่อมั่น 95% ได้แก่ rebound tenderness,tenderness in the RLQ,pain RLQ at presentation, onset of pain RLQ,rigidity,guarding *Bowden T,et al. ทำการศึกษาเปรียบเทียบความถูกต้องในการวินิจฉัย Acute appendicitis ระหว่างวิธีที่ใช้ CTและไม่ใช้ CT พบว่าวิธีที่ใช้ CT มีความถูกต้อง 80% และวิธีที่ใช้ CTมีความถูกต้องมากกว่า 95%
วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาความถูกต้องในการวินิจฉัย Acute Appendicitis ในโรงพยาบาลพุทธชินราช เพื่อศึกษาถึงค่าเปอร์เซ็นต์ต่างๆเพื่อช่วยในการเฝ้าระวังและดูแลผู้ป่วยที่มา admit ด้วย Acute abdomen เพื่อศึกษาความถูกต้องของประวัติและการตรวจร่างกายที่ใช้ในการวินิจฉัย Acute Appendicitis
วิธีวิจัย ศึกษาแบบ Retrospective descriptive และCase control study จด H.N. ชื่อผู้ป่วยและ Definitive diagnosis ซึ่งคาดว่ามา admit ด้วยอาการ acute abdomen ตั้งแต่วันที่1เมษายน - 15 มิถุนายน จากสมุดทะเบียนผู้ป่วยของทุกหอผู้ป่วย ค้นทะเบียนประวัติที่แผนกเวชระเบียนตามชื่อที่บันทึกไว้
มาตรการในการคัดเลือก ผู้ป่วยที่มา admit ด้วย Acute abdomen ทุกคนตามรายชื่อและ H.N.ที่บันทึกมา มาตรการในการคัดออก ผู้ป่วยที่ refer มาจากโรงพยาบาลและมี Definitive diagnosis , เคยได้รับการผ่าตัดไส้ติ่งมาก่อน , ผู้ป่วยที่รอ interval appendectomies , ผู้ป่วยที่ discharge หลังวันที่ 15 มิถุนายน พ.ศ. 2543 , แพทย์นัด , ถึงแก่กรรม
นิยามศัพท์ Acute abdomen คือ ปวดท้องรุนแรงภายใน 24 ชม. จนต้อง admit Definitive diagnosis Final diagnosis Leukocytosis with neutrophil predominant คือ WBC>11,000 cell/cu.mm และ N > 75%
นิยามศัพท์ Mild inflammation คือ Normal appendix Rovsing’s sign positive Psoas sign positive Obtulator sign positive
ผลการศึกษา Subject บันทึกรายชื่อจากสมุดทะเบียนผู้ป่วย ได้ 420 ราย บันทึกรายชื่อจากสมุดทะเบียนผู้ป่วย ได้ 420 ราย ผู้ป่วยที่มาด้วย Acute abdomen 310 ราย คัดออกโดย ผู้ป่วย refer 32 ราย ผู้ป่วยเคยผ่าตัดไส้ติ่ง 9 ราย ผู้ป่วยรอ interval appendectomies 3 ราย แพทย์นัด 19 ราย ถึงแก่กรรม 2 ราย รวมคัดออก 213 ราย คิดเป็น 50.71 % สรุปมีผู้ป่วย 207 ราย
ผู้ป่วย Acute appendicitis คิดเป็น 45 ผู้ป่วย Acute appendicitis คิดเป็น 45.41 % ของผู้ป่วย Acute abdomen กลุ่มอายุที่พบมากคือกลุ่มอายุ 20 - 29 ปี
Accuracy in diagnosis of acute appendicitis sensitivity 83%(75 - 89) specificity 97%(78-100) PPV 99%(93 - 100) NPV57%(47 - 71)
ความถูกต้องในการวินิจฉัยก่อนการผ่าตัด Appendix Accuracy 86 %(78 - 91) Accuracy 86 %(78 - 91) Sensitivity 83%(74 - 89) Specificity 96%(78 - 100) Specificity 96%(78 - 100) PPV 99%(93 - 100) NPV 57 %(37 - 77) NPV 57 %(37 - 77) Negative appendectomies 17 % (11 - 25) Ruptured appendicitis 19% (12 - 27) (95% CI)
ความถูกต้องของอาการและอาการแสดงที่ใช้ในการวินิจฉัย Acute appendicitis *คือ p- value < 0.05
ความถูกต้องของอาการและอาการแสดงที่ใช้ในการวินิจฉัย Acute appendicitis *คือ p- value < 0.05
ความถูกต้องของอาการและอาการแสดงที่ใช้ในการวินิจฉัย Acute appendicitis *คือ p- value < 0.05
อาการและอาการแสดงที่ช่วยในการวินิจฉัย Acute appendicitis
วิจารณ์ 1. ตัดกลุ่มตัวอย่างถึง 50 % ทำให้ค่าสัดส่วนบางค่าคลาดเคลื่อน - Acute appendicitis คิดเป็น 28% - Acute abdomen ที่ต้องได้รับการผ่าตัดคิดเป็น 41 % 2. ข้อมูลที่ได้ไม่ครบถ้วนทำให้จำนวนตัวอย่างไม่เพียงพอในการตอบคำถาม การวิจัยบางข้อและ 95% CI กว้าง 3. ผู้ป่วยที่วินิจฉัยว่าไม่เป็น Acute appendicitis และรักษาโดยการใช้ยาอาจมี บางรายที่ กลับไปแล้วเป็น Acute appendicitis แล้วไปผ่าตัดที่โรงพยาบาลอื่น 4.ข้อมูลที่ได้จากทะเบียนประวัติผู้ป่วยมีไม่ครบ
วิจารณ์ 5. ความหมายของ sign positive ของแพทย์แต่ละคนไม่เหมือนกัน 6. จากผลการวิจัยที่พบว่ามีความถูกต้อง 90.41 % แต่พบ rupture appendix ถึง 18.75 % แสดงว่าแพทย์รออาการผู้ป่วยจนมีอาการชัดเจน THE END