นาวาอากาศตรีหญิง พรประภา โลจนะวงศกร

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การวิเคราะห์และประเมินค่างาน
Advertisements

การบริหารจัดการเพื่อ พัฒนาผลการปฏิบัติงาน
ระบบการประเมินเพื่อพัฒนาผลการปฏิบัติงาน บุคลากรสายสนับสนุน
รหัสวิชา กระบวนทัศน์ การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และชุมชนในองค์กร
บทที่ 3 ระดับของสารสนเทศ.
เรื่องสืบเนื่อง การวางแผนและบริหารโครงการสำหรับส่วน ราชการ
กระทำหน้าที่ตามเป้าหมายขององค์กรอย่างสมบูรณ์
สมรรถนะที่จำเป็นสำหรับผู้รับผิดชอบ การจัดการรายบุคคลในโรงพยาบาล (Case Manager และ Case Management Unit)
การเตรียมการนำเสนอผลงานของ PCT และระบบสำคัญ
การทำงานเชิงรุก การทำงานเชิงรุก
HA คืออะไร วัตถุประสงค์: เพื่อให้ผู้เรียน
กระบวนการคุณภาพ วัตถุประสงค์: เพื่อให้ผู้เรียน
สรุปการประชุม ครั้งที่ 1 วันที่ 4-5 เมษายน 2555 สรุปการประชุม ครั้งที่ 1 วันที่ 4-5 เมษายน 2555.
การวางแผนและ การจัดทำ IT Audit
หมวด 1 การนำองค์กร การให้การสนับสนุนชุมชน ดำเนินงานอย่างมีจริยธรรม
องค์ประกอบที่ 4 การส่งเสริมสุขภาพบุคลากร
HA 2011 overall scoring และการนำไปใช้เพื่อพัฒนาคุณภาพรพ.
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
โครงการพัฒนาการบริการเด็กที่มีปัญหาพัฒนาการและออทิสติก
การตรวจรับรองเกณฑ์คุณภาพการบริหาร จัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (Certify FL) 1.
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและโอกาสพัฒนาในโครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ ในภาพรวมของเขต 10 สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 10 เชียงใหม่
โรงพยาบาล หน่วยบริการ.
โรงพยาบาลทับสะแก อ.ทับสะแก จ.ประจวบคีรีขันธ์ ขนาด 60 เตียง
25/07/2006.
วาระที่ 3.5 การขอสนับสนุนงบประมาณ จากกองทุนสิ่งแวดล้อม
1. 1. กลุ่มองค์กร ปกครองส่วน ท้องถิ่น 2. เจ้าหน้าที่ รพ. สต และ เจ้าที่ในรพ. 3. ครู
การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ
นายแพทย์ไพจิตร์ วราชิต รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
สรุปการประชุม เขต 10.
กลุ่มที่ 13 ประกอบด้วยกลุ่มบุคคลที่มาจากหลายเขต เช่น เขต 1, 2, 3, 10, 15 มีทั้งหมด 3 ประเด็นด้วยกัน คือ 1. สรุปกระบวนการและข้อเสนอแนะการนิเทศ รพ.สต. รอบที่
กลุ่มที่ 3.
สรุปแนวทาง การระดมความคิดเห็น กลุ่มย่อยที่ 4
การสร้างความเข้มแข็งของ ระบบสนับสนุนยุทธศาสตร์. ความจริงที่เป็นอยู่ ( มายาวนาน )
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
มาตรฐานโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ
ตามเกณฑ์มาตรฐานโรงพยาบาลและบริการสุขภาพ
การเขียนรายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report : SAR)
บันได 3 ขั้น ความสำเร็จในการพัฒนาคุณภาพ
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
:: Pitfall : การบริหารการพยาบาล ::
กรอบการพัฒนาตัวชี้วัด
มีการอบรมป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น
การชี้แจงตัวชี้วัด ตัวชี้วัดที่ 12 ยุทธศาสตร์ที่ 2 ด้านคุณภาพบริการ ร้อยละของอาเภอที่มีทีม miniMERT, MCATT, SRRT คุณภาพ ธีราภา ธานี พยาบาลวิชาชีพชำนาญ.
การพัฒนางานวิกฤตสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2558
มีอำนาจหน้าที่ตามกฎกระทรวง
ศูนย์ประสานงานการรับส่งต่อผู้ป่วย
การบริหารและพัฒนาบุคลากร HR /HRD
การวางแผนยุทธศาสตร์.
การพัฒนางานสุขภาพจิต วัยทำงาน - สูงอายุ
การเรียนรู้ ผ่าน SERVICE PROFILE

สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE การบริหารงบกองทุนฯ ปีงบประมาณ 2555 เสนอในการประชุมชี้แจงจังหวัด ระหว่างวันที่ 5-6 ตุลาคม.
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
คุณค่าคนทำงาน คือการทำงานให้มี คุณภาพ ตอบสนองความต้องการ ของผู้รับบริการทั้งภายนอกและ ภายในตามมาตรฐานวิชาชีพ เป้าหมายของการทำงาน คือ การ ให้บริการที่มี
คณะกรรมการการดูแลผู้ป่วยโรคจิตเภท
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
1. การ ดำเนินตามระเบียบงานสาร บรรณที่เกี่ยวข้อง 2. ความสามารถ ดำเนินการด้านสาร บรรณตามเวลาที่กำหนด 3. มีระบบ ป้องกันการสูญหายของ เอกสาร 4. การเผยแพร่ขั้นตอนในการ.
คณะกรรมการพัฒนาทรัพยากรบุคคล โรงพยาบาลสวนปรุง ปีงบประมาณ 2557
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
โครงการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศที่ดำเนินการในปีงบประมาณ 2553
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
1. ดำเนินการตามระเบียบการเงิน / การคลังที่เกี่ยวข้อง 2. ดำเนินการแล้ว เสร็จตามเวลาและ มีระบบป้องกันการสูญหาย 3. การป้องกันการคลาดเคลื่อนจาก การรับ - จ่ายเงินสด.
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
PCT ทีมนำทางคลินิก.
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

นาวาอากาศตรีหญิง พรประภา โลจนะวงศกร NSO นาวาอากาศตรีหญิง พรประภา โลจนะวงศกร

NSO

การจัดองค์กร และการบริหาร

โครงสร้างการจัดการบทบาทหน้าที่ NSO มีการจัดโครงสร้างการบริหารการพยาบาล/กำหนดบทบาทหน้าที่ชัดเจน กำหนดเป้าหมาย/วัตถุประสงค์และเครื่องชี้วัดชัดเจน มีระบบการสื่อสาร/แก้ไขปัญหาภายใน/ระหว่างวิชาชีพ มีนโยบาย/แนวทางปฏิบัติในการติดตามกำกับให้เจ้าหน้าที่อยู่ในมาตรฐาน มีแผนพัฒนาทางด้านการพยาบาลชัดเจน

การจัดการ ทรัพยากรบุคคล

การจัดการ ทรัพยากรบุคคล ความรู้ความสามารถผู้นำทางการพยาบาล การจัดอัตรากำลัง การกำกับดูแลมาตรฐานและจริยธรรมวิชาชีพ ประเมินผลการปฏิบัติงานบุคลากรทางการพยาบาล

การกำกับดูแลมาตรฐานและจริยธรรมวิชาชีพ ทักษะวิชาชีพ 10 ข้อ ได้แก่ 1.ความสามารถในการประเมินปัญหา 2.ความสามารถในการให้การพยาบาลสอดคล้องกับปัญหาและความต้องการของผู้ป่วยและครอบครัว แต่ละราย 3.ความสามารถในการปรับปรุงการพยาบาลให้เหมาะสมกับปัญหาและความต้องการของผู้ป่วย 4.ความสามารถในการคาดการณ์ล่วงหน้าเกี่ยวกับปัญหาฉุกเฉินและรายงานได้ทันท่วงที 5.ความสามารถในการแก้ปัญหาได้อย่างถูกต้องเหมาะสมกับเหตุการณ์

การกำกับดูแลมาตรฐานและจริยธรรมวิชาชีพ ทักษะวิชาชีพ 10 ข้อ ได้แก่ 6.ตัดสินวินิจฉัยสั่งการได้เป็นอย่างดี มีเหตุผล 7.มีความสามารถในการให้ความรู้และให้การปรึกษาเพื่อสนับสนุนการดูแลสุขภาพของผู้ป่วยและครอบครัว 8.ความสามารถในการให้การพยาบาล/ช่วยเหลือจนท.ระดับต่ำกว่าในกรณีที่ต้องให้การพยาบาลที่ซับซ้อน 9.ความสามารถประยุกต์ความรู้การปฏิบัติงานได้อย่างมีเหตุผล 10.ความสามารถให้ข้อเสนอแนะแก่ทีมงานในการแก้ไขปัญหาของผู้ป่วย

ศักยภาพและ การพัฒนาทรัพยากรบุคคล

การพัฒนาทรัพยากรบุคคล การวางแผน/กำหนดเนื้อหาพัฒนา การประเมินผลการพัฒนาบุคลากรทางการพยาบาล ผลลัพธ์

กิจกรรม พัฒนาคุณภาพ

ขยายCQIไปยังหน่วยงานอื่นแต่ยัง จำกัดเฉพาะในงานการพยาบาล CQI ตอบสนองปัญหา/ความเสี่ยง/เป้าหมายของNSO และกระบวนการดูแลผู้ป่วย โดยเชื่อมโยงปัญหาที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพอื่น

ประเมินผล CQI นำผลการประเมินผลงาน CQI ภายในการพยาบาลมาปรับปรุงคุณภาพการดูแลรักษา ร่วมกับสหวิชาชีพและปรับปรุงระบบ/กระบวนการบริหารการพยาบาล