ลำดับพัฒนาการทางวัฒนธรรมที่แหล่งโบราณคดีถ้ำหลังโรงเรียน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สาระสังคมศึกษาศาสนา และวัฒนธรรม สาระที่4 ประวัติสาสตร์
Advertisements

จัดทำโดย 1.ด.ช.พนาดร เขื่อนแก้ว ม.2/5 เลขที่ 6
วัชพืชในแม่น้ำเจ้าพระยา ปัญหาตามฤดูกาลที่ต้องแก้
การตีเหล็ก ตำบลตลาดใหญ่ อำเภอเมืองภูเก็ต จังหวัดภูเก็ต.
นกในประเทศไทย จัดทำโดย ด.ช.ธีรวุฒิ เนียมคุ้ม ชั้น ม. 2/1 เลขที่ 9.
บทที่ 7 การใช้ตัวอักษร สื่อชุดนี้เป็นลิขสิทธิ์ของสำนักพิมพ์วังอักษร ใช้เพื่อการศึกษาเท่านั้น.
แบบทดสอบ รูปทรงสัณฐานของโลกลักษณะใดทำให้โลกมิได้มีทรงกลมเหมือนลูกปิงปอง ก แกนของโลก เอียง ข มีผิวขรุขระคล้ายผลส้ม ค ขั้วโลกทั้งสองยุบตัวลงเล็กน้อย ง มีพื้นน้ำมากกว่าผิวพื้นดิน.
รูปทรงและปริมาตร จัดทำโดย นางสาวเพ็ญประภา กฤษฎาเรืองศรี ตำแหน่ง อาจารย์ 1 ระดับ 3 โรงเรียนวัดธาตุทอง สำนักงานเขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร.
เพิ่มพูนทักษะการเคลื่อนไหว
ขอต้อนรับเข้าสู่ สาระที่ 3 เรขาคณิต. ขอต้อนรับเข้าสู่ สาระที่ 3 เรขาคณิต.
การย้ายต้นกล้าแบบล้างราก
ดาวอังคาร (Mars).
ประเทศอาเซียน ประเทศพม่า.
5.9 Capacitance พิจารณาแผ่นตัวนำที่มีประจุอยู่และแผ่นตัวนำดังกล่าววางอยู่ในสาร dielectric ค่าควรจุของตัวเก็บประจุคือการนำเอาประจุที่เก็บสะสมหารกับความต่างศักย์ระหว่างสองแผ่นตัวนำ.
ไฟฟ้าสถิตย์ Electrostatics.
เครื่องดนตรีไทย นางสาวสุชาวดี เจริญธรรม ม.4/1 เลขที่ 20.
รูปร่างและรูปทรง.
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ
กลุ่ม ดาวโลก ด.ญ.กรรณิการ์ เพ็งเอี่ยม เลขที่ 11 ม.2/1
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ
องค์ประกอบพื้นฐาน ของโปรแกรม Visual Basic
จิตรกรรม จิตรกรรมสมัยสุโขทัย ส่วนใหญ่เล่าเรื่องทางศาสนาเป็นลักษณะการเขียนภาพแบบอุดมคติ เช่น ภาพอดีตพุทธเจ้า ประทับยืนเรียงรายเป็นแถว แต่ละองค์คั่นสลับด้วยภาพบุคคลชั้นสูงประทับอัญชลี
พัฒนาการของวัฒนธรรม สมัยก่อนประวัติศาสตร์ในประเทศไทย
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ
ของแข็ง ของเหลว แก๊ส ว30231 ปริมาณสัมพันธ์ สถานะของสาร และเคมีไฟฟ้า
ระบบอนุภาค.
หลักเกณฑ์การอ่านแผนที่
โรงเรียนปิยะบุตร์ อ.บ้านหมี่ จ.ลพบุรี
และคุณสมบัติอุปกรณ์การสร้างฉาก โดย อาจารย์ ศิริมงคล นาฏยกุล
ภาคใต้สมัยก่อนประวัติศาสตร์
เครื่องใช้ - เครื่องประดับ
สมัยโชมอน.
แหล่งท่องเที่ยวจังหวัดสุพรรณบุรี โดย เด็กหญิง ณภาภัช โรจนกุล
ท่องเที่ยวจังหวัดสุพรรณบุรี โดย ด. ญ. สุดารัฐ เลิศทัศนว นิช.
เรียนรู้ จาก VDO ของ KMI
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์
พื้นที่พักพิงฯ บ้านใหม่ในสอย
ภูมิปัญญาท้องถิ่นในการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับแผนที่
การจัดทำแผนปฏิบัติการ ศึกษาพัฒนาและผลิตสื่อ ทางประวัติศาสตร์ในชุมชน
จังหวัดราชบุรี จัดทำโดย
Mold Design # 4 ผิวแบ่งส่วนแม่พิมพ์และระบบป้อน
สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอนวิชางานประดิษฐ์จากดินไทย
วิวัฒนาการ วิวัฒนาการของมนุษย์....
เตาปิ้งย่างไฟฟ้า.
สถานที่ท่องเที่ยว จังหวัดเชียงใหม่
กลุ่มวิสาหกิจชุมชนปรับปรุงมะม่วงคุณภาพดีเพื่อการส่งออกมงคลธรรมนิมิต
รายงานสถานการณ์การระบาด 22 จังหวัด
โปรแกรม Microsoft Access
WELCOME To ANGTHONG.
วิชาคอมพิวเตอร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 นางพวงเพ็ญ อินทร์เอี่ยม
แหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญาชุมชนในเขตตำบลพนางตุง - ทะเลน้อย
ความรู้เกี่ยวกับที่ดิน
ครู สุนิสา เมืองมาน้อย
กิจกรรม 4.7 สีของรุ้งเกิดขึ้นได้อย่างไร
“ทช.โปร่งใส ใส่ใจคุณธรรม นำความซื่อสัตย์ ขจัดการทุจริต”
ปาล์มขวด จัดทำโดย นาย ภานุวัฒน์ แซ่เจียง เลขที่ 8
แผนที่และเครื่องมือทางภูมิศาสตร์
โครงการประตูระบายน้ำห้วยบังอี่ บ้านนาโพธิ์ ตำบลโพธิ์ไทร
รูปทรงเรขาคณิต จัดทำโดย เด็กชายสุวพิชญ์ สินธุแปง ชั้น ม. 1/4 เลขที่ 14
ดาวศุกร์ (Venus).
โรงเรียนจักรคำคณาทร ลำพูน
ประเภทของมดน่ารู้.
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง เลือกใช้เครื่องมือตัดได้ถูกต้อง
จัดทำโดย ด. ช. ณัฐธัญ สร้างนา โรงเรียนบ้านนาหนองทุ่ม อ. แก้งคร้อ จ. ชัยภูมิ
ดาวเคราะห์น้อย (Asteroids)
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ บ้านเก่า อ. เมือง จ
เกณฑ์ในการแบ่งยุคสมัยก่อนประวัติศาสตร์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ลำดับพัฒนาการทางวัฒนธรรมที่แหล่งโบราณคดีถ้ำหลังโรงเรียน 1. ในช่วงเวลาราว 37,000-27,000 ปีมาแล้ว มีการใช้เครื่องมือหินกะเทาะทั้งประเภทเครื่องมือแกนหินและเครื่องมือสะเก็ดหิน

2. ในช่วงเวลาราว 9,000-7,500 ปีมาแล้ว มีการใช้เครื่องมือหินกะเทาะชนิดที่เรียกว่า"เครื่องมือหินแบบฮัวบิเนียน"(Hoabinhian)

"เครื่องมือหินแบบฮัวบิเนียน"(Hoabinhian) เป็นเครื่องมือหินกะเทาะประเภทแกนหินที่ทำจากหินกรวดแม่น้ำ เครื่องมือหินกะเทาะชนิดนี้ พบครั้งแรกที่แหล่งโบราณคดีในแถบจังหวัดฮัวบินห์ ในประเทศเวียดนาม เนื่องจากในช่วงของการพบครั้งแรกนั้น นักโบราณคดีผู้พบเห็นว่าเป็นเครื่องมือหินแบบเฉพาะที่ยังไม่เคยมีผู้ใดพบมาก่อน เมื่อเปรียบเทียบแล้วไม่สามารถจัดเป็นของ วัฒนธรรมใดๆอันเป็นที่รู้จักกันอยู่แล้ว จึงตั้งชื่อใหม่เรียกเครื่องมือหินชนิดนี้ว่า "เครื่องมือหินฮัวบิเนียน" ซึ่งหมายความว่าเป็นเครื่องมือแบบของพื้นที่แถบจังหวัดฮัวบินห์นั่นเอง

เครื่องมือหินกะเทาะบางชนิดที่จัดเป็นประเภทเด่นแสดงถึงชุดเครื่องมือหินแบบฮัวบิเนียน ประกอบด้วย

1. เครื่องมือหินกะเทาะหน้าเดียว เหลือผิวหินเดิม(cortex) ไว้มากบ้าง น้อยบ้าง มีทั้งทรงรูปไข่ ทรงสามเหลี่ยม ทรงแผ่นกลมแบน เป็นต้น ส่วนแบบที่เป็นทรงรูปไข่ที่กะเทาะผิวหินเดิมด้านหนึ่งออกจนหมดนั้น เรียกว่า เครื่องมือหินแบบสุมาตราลิทธ์(sumatraliths)

2. เครื่องมือหินกะเทาะ 2 หน้า มีรูปทรงต่างๆแบบเดียวกับเครื่องมือหินกะเทาะหน้าเดียว

3. ขวานสั้น(shortaxes) ซึ่งหมายถึงเครื่องมือหินกะเทาะทำจากหินกรวดแม่น้ำให้มีรูปร่างคล้ายหัวขวาน โดยการกะเทาะหน้าเดียวหรือสองหน้า และมีการกะเทาะแนวขวางให้ปลายด้านท้ายหักออกเพื่อให้เป็นด้านด้ามของเครื่องมือ

4. เครื่องมือหินกะเทาะขัดฝนเฉพาะส่วนคมใช้งาน(edge-ground tools) หรือเครื่องมือหินขัดรุ่นเก่า(proto-neoliths) ซึ่งหมายถึง เครื่องมือหินกะเทาะเป็นรูปหัวขวานที่มีการขัดฝนเฉพาะด้านคมของเครื่องมือ ยังไม่ขัดเรียบทั้งชิ้น

5. เครื่องมือหินกะเทาะแบบอื่นๆ รูปทรงหลากหลาย มีทั้งที่เป็นเครื่องมือสะเก็ดหิน เครื่องมือแกนหิน รวมทั้งฆ้อนหิน

3. - ในช่วงเวลาราว 6,000-4,000 ปีมาแล้ว เริ่มมีการใช้เครื่องมือหินขัด หรือขวานหินขัด นอกจากนี้ก็มีการใช้ภาชนะดินเผา

แหล่งโบราณคดีถ้ำผีแมน

แหล่งโบราณคดีบ้านเชียง 1. สมัยต้น ราว 4,300-3,000 ปีมาแล้ว

แหล่งโบราณคดีบ้านเชียงสมัยต้น